กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ


“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลกะลุวอ ปี 2564 ”

ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนรารัตน์ สือเเม

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลกะลุวอ ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2490-5-1 เลขที่ข้อตกลง 19/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลกะลุวอ ปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลกะลุวอ ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดตั้งสถานที่กักกันในพื้นที่ตำบลกะลุวอ สำหรับผู้ที่มีความเสี่ยง หรือผู้ที่เดินทางกลับต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากประเทศ (2) เพื่อให้ผู้ที่มีความเสี่ยง หรือเดินทางกลับจากต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากต่างประเทศได้รับการกักตัว 100 % (3) เพื่อช่วยลดโอกาสเสี่ยงของประชนในพื้นที่จะได้รับเชื้อจากการสัมผัสผู้ที่มีความเสี่ยง หรือผู้ที่เดินทางกลับจากต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากต่างประเทศ (4) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันตนเอง ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (5) เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง (รองรับผู้กักกัน จำนวน 20 เตียง) (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ การดูแลเฝ้าระวัง ป้องกันตนเอง ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) กิจกรรมเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)       สถานการณ์การติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในระดับโลก พบผู้ป่วยสะสมรวมมากกว่า 142 ล้านคน โดยจำนวนผู้ป่วยรายวันเพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่ช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2564 จนอยู่ในระดับมากกว่า 8 แสนคนต่อวัน ซึ่งเกิดจากการระบาดที่เพิ่มมากขึ้นในอินเดีย และระดับการระบาดที่ยังคงสูงขึ้นในสหรัฐอเมริกา บราซิล และในยุโรป ส่วนจำนวนผู้เสียชีวิตรายวันยังอยู่ในระดับต่ำกว่า 1.5 หมื่นคนต่อวัน รวมผู้เสียชีวิตทั้งหมดมากกว่า 3 ล้านคน ส่วนในประเทศไทย พบผู้ติดเชื้อยืนยันสะสม 48,113 ราย ผู้ป่วยสะสมจากการระบาดในระลอกใหม่ 16,322 ราย ผู้ติดเชื้อที่มีอาการรุนแรง 320 ราย และเสียชีวิต 117 ราย โดยจำนวนผู้ติดเชื้อรายวันในประเทศยังคงมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น มีการแพร่กระจายไปใน 77 จังหวัดทั่วประเทศ ซึ่งผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่ประวัติเดินทางไปยังสถานบันเทิง ผับ บาร์ คาราโอเกะ สถานที่ ที่มีการรวมตัวกันหรือมีประวัติสัมผัสกับผู้ที่เดินทางไปยังสถานที่ดังกล่าวและบุคคลที่เดินทางกลับจากประเทศเพื่อนบ้าน และในวันนี้มีจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่อีก 1,470 รายใน 68 จังหวัด (ข้อมูลจากศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 23 เมษายน 2564) และในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส มีผู้ป่วยยืนยันสะสม 50 ราย หายแล้ว 45 ราย รักษาตัว ณ โรงพยาบาล 3 ราย และมีผู้เสียชีวิตแล้ว 2 ราย (ข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ณ วันที่ 22 เมษายน 2564) จึงควรเพิ่มความเข้มข้นของการเฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันโรคในพื้นที่ เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่ก่อให้เกิดโรค และสื่อสารให้กับประชาชนเพื่อยกระดับมาตรการป้องกัน ควบคุมโรค สวมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ ทำงานอยู่ที่บ้านถ้าทำได้ ลดการเดินทางที่ไม่จำเป็น โดยเฉพาะสถานที่เสี่ยงที่จะมีคนรวมตัวกันเป็นจำนวนมาก และสแกนไทยชนะ หรือใช้หมอชนะเมื่อเดินทางไปพื้นที่เสี่ยงต่างๆ
    ทำให้การรักษาพยาบาลเหล่านี้ในโรงพยาบาลคงไม่สามารถทำได้ ตลอดจนอาการป่วยของผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ก็มีระดับความรุนแรงน้อยและมาก โรงพยาบาลต้องใช้ในการดูแล รักษาผู้ป่วยอาการหนักและมีความจำเป็นเท่านั้น นอกจากนี้สถานการณ์ของบุคคลที่ไปทำงานในประเทศเพื่อนบ้าน มีแนวโน้มว่าจะต้องถูกผลักดันให้กลับประเทศ บุคคลเหล่านี้หลายคนอาจมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้วย สายพันธุ์ แอฟริกา เป็นสายพันธุ์ที่ค่อนข้างดื้อวัคซีนรองรับผู้เข้ากักกันจากสถานการณ์การแพร่ระบาดระลอกใหม่ เพื่อการสังเกตอาการผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  ในการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงและเดินทางกลับจากประเทศเพื่อนบ้าน       ทั้งนี้ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวัง ป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่และจัดตั้งสถานกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยง เพื่อช่วยลดโอกาสเสี่ยงของประชาชนในพื้นที่จะได้รับเชื้อจากการสัมผัสผู้ที่มีความเสี่ยง องค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาทางสาธารณสุขที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดตั้งสถานที่กักกันในพื้นที่ตำบลกะลุวอ สำหรับผู้ที่มีความเสี่ยง หรือผู้ที่เดินทางกลับต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากประเทศ
  2. เพื่อให้ผู้ที่มีความเสี่ยง หรือเดินทางกลับจากต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากต่างประเทศได้รับการกักตัว 100 %
  3. เพื่อช่วยลดโอกาสเสี่ยงของประชนในพื้นที่จะได้รับเชื้อจากการสัมผัสผู้ที่มีความเสี่ยง หรือผู้ที่เดินทางกลับจากต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากต่างประเทศ
  4. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันตนเอง ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  5. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง (รองรับผู้กักกัน จำนวน 20 เตียง)
  2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ การดูแลเฝ้าระวัง ป้องกันตนเอง ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  3. กิจกรรมเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 11,571
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ที่มีความเสี่ยง หรือผู้ที่เดินทางกลับต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากประเทศได้รับการกักตัว 100 %
  2. ลดการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  3. ประชาชนในพื้นที่ตำบลกะลุวอ สามารถเฝ้าระวัง ป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโรโคนา 2019 (COVID-19)
  4. ประชาชนมีความตระหนักและรับผิดชอบตนเองในการดูแลป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  5. ในตำบลกะลุวอ ไม่มีผู้ติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และผู้มีความเสี่ยงติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • ผู้ที่มีความเสี่ยง หรือผู้ที่เดินทางกลับต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากประเทศได้รับการกักตัว 100 %
    • ลดการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
    • ประชาชนในพื้นที่ตำบลกะลุวอ สามารถเฝ้าระวัง ป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโรโคนา 2019 (COVID-19)
    • ประชาชนมีความตระหนักและรับผิดชอบตนเองในการดูแลป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
    • ในตำบลกะลุวอ ไม่มีผู้ติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และผู้มีความเสี่ยงติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดตั้งสถานที่กักกันในพื้นที่ตำบลกะลุวอ สำหรับผู้ที่มีความเสี่ยง หรือผู้ที่เดินทางกลับต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากประเทศ
ตัวชี้วัด : ในพื้นที่ตำบลกะลุวอ มีสถานที่กักกันจำนวน 1 แห่ง สำหรับผู้ที่ความเสี่ยง หรือผู้ที่เดินทางกลับต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากประเทศ
0.00 100.00

 

2 เพื่อให้ผู้ที่มีความเสี่ยง หรือเดินทางกลับจากต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากต่างประเทศได้รับการกักตัว 100 %
ตัวชี้วัด : ผู้ที่มีความเสี่ยง หรือเดินทางกลับต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากต่างประเทศได้รับการกักตัว 100 %
100.00 100.00

 

3 เพื่อช่วยลดโอกาสเสี่ยงของประชนในพื้นที่จะได้รับเชื้อจากการสัมผัสผู้ที่มีความเสี่ยง หรือผู้ที่เดินทางกลับจากต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากต่างประเทศ
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่ไม่มีผู้ที่เสี่ยงติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือสัมผัสกับผู้ที่มีความเสี่ยง
100.00 100.00

 

4 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันตนเอง ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่สามารถเฝ้าระวัง ป้องกันตนเอง ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้
80.00 80.00

 

5 เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความตระหนักและรับผิดชอบตนเองในการดูแลป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 11571 11571
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 11,571 11,571
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดตั้งสถานที่กักกันในพื้นที่ตำบลกะลุวอ สำหรับผู้ที่มีความเสี่ยง หรือผู้ที่เดินทางกลับต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากประเทศ (2) เพื่อให้ผู้ที่มีความเสี่ยง หรือเดินทางกลับจากต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากต่างประเทศได้รับการกักตัว 100 % (3) เพื่อช่วยลดโอกาสเสี่ยงของประชนในพื้นที่จะได้รับเชื้อจากการสัมผัสผู้ที่มีความเสี่ยง หรือผู้ที่เดินทางกลับจากต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับจากต่างประเทศ (4) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันตนเอง ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (5) เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง (รองรับผู้กักกัน จำนวน 20 เตียง) (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ การดูแลเฝ้าระวัง ป้องกันตนเอง ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) กิจกรรมเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลกะลุวอ ปี 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2490-5-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนรารัตน์ สือเเม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด