โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ม.5
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ม.5 ”
ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางพัสวี ประทุมสุวรรณ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ม.5
ที่อยู่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2564–L3310-2 - 29 เลขที่ข้อตกลง 54/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ม.5 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ม.5
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ม.5 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2564–L3310-2 - 29 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโครน่า หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้พื้นที่ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง เริ่มมีผู้ป่วยโควิด ในเขตเทศบาลเขาชัยสน ซึ่งเชื่อมต่อกับพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสน ปัจจุบันข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ณ วันที่ ๕ พ.ค. ๖๔ จังหวัดพัทลุง พบเชื้อระลอกเมษายน ๒๕๖๔ จำนวน ๓๒๘ ราย พบเชื้อสะสมทั้งหมด(ระลอก1-3)จำนวน ๓๔๕ ราย มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย
ดังนั้น เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฯ การปฎิบัติตามมาตรการการป้องกันไม่ให้ติดโรค COVID-19 นั้นถือว่าจำเป็นมาก ควบคู่ไปกับการดูแลรักษาร่างกายให้แข็งแรง การป้องกันตนเอง ตามมาตรการ D-M-H-T-T เว้นระยะห่าง การสวมหน้ากากอนามัย การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง ทั้งด้วยแอลกอฮอล์ สบู่ การตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายฯ
อาศัยตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๓ “ข้อ ๑๐/1 เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดการระบาดของโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ และคณะกรรมการกองทุนไม่อาจอนุมัติค่าใช้จ่ายตามข้อ ๑๐ ได้ทันต่อสถานการณ์ ให้ประธานกรรมการตามข้อ ๑๒ มีอำนาจอนุมัติโครงการหรือกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขกรณีเกิดโรคระบาดของโรคติดต่ออันตรายตามกฏหมายว่าด้วยโรคติดต่อได้ตามความจำเป็นได้ไม่เกินหนึ่งแสนบาทต่อโครงการ โดยให้ถือว่าเป็นโครงการหรือกิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติตามประกาศนี้ด้วย แล้วรายงานผลการดำเนินงานให้คณะกรรมการกองทุนทราบ”
อบต.เขาชัยสน จึงขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสนในครั้งนี้ เพื่อการดำเนินโครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ในการดำเนินการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการป้องกันและเฝ้าระวังโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19
- 2.เพื่อกระตุ้นการป้องกันโรคและการเฝ้าระวังโรคด้วยการ ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรม อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน กิจกรรมที่ 2 ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน กิจกรรมที่ 3 แนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่เยาวชนและนักเรียน กิจกรรมที่ 4 การปฏิบัติการเฝ้าระวัง ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
5,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องโรค Covid-19
ประชาชนมีพฤติกรรมที่สามารถป้องกัน Covid-19
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ 1 อบรม อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน กิจกรรมที่ 2 ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน กิจกรรมที่ 3 แนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่เยาวชนและนักเรียน กิจกรรมที่ 4 การปฏิบัติการเฝ้าระวัง ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอ
วันที่ 15 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
วิธีดำเนินการ
กิจกรรมที่ 1 อบรม อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่อสม.ในการป้องกันและเฝ้าระวังตามมาตรการDMHTT เพื่อให้อสม.สามารถนำไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในความรับผิดชอบของตนเอง
กิจกรรมที่ 2 อสม.ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน โดยการลงพื้นที่สำรวจทุกครัวเรือน ให้ความรู้ และคัดกรองเบื้องต้น
กิจกรรมที่ 3 เจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่มกับอสม.ครู แนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่เยาวชนและนักเรียน ด้วยการลงพื้นที่ในรร.และศพด.เพื่อสาธิตและฝึกให้นักเรียนปฎิบัติตามมาตราการ DMHTT
กิจกรรมที่ 4 การปฏิบัติการเฝ้าระวัง ให้ประชาชนที่มาร่วมกิจกรรมต่างๆของหมู่บ้านได้รับคัดกรอง ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง ก่อนเข้าพื้นที่ เช่น การประกอบพิธีทางศาสนาต่างๆ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ปชช.มีความรู้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19 ร้อยละ 90
2.ปชช.ที่ใช้พื้นที่สาธารณร่วมกัน ได้รับการตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงาน
มีกิจกรรมทั้งหมด 4 กิจกรรม ประกอบด้วย
กิจกรรมที่ 1 อบรม อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน
กิจกรรมที่ 2 ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน
กิจกรรมที่ 3 แนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่เยาวชนและนักเรียน
กิจกรรมที่ 4 การปฏิบัติการเฝ้าระวัง ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง ก่อนเข้าพื้นที่ เช่น การประกอบพิธีทางศาสนาต่างๆ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สถานที่ท่องเที่ยว สถานราชการ
วิธีดำเนินการ
กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้ อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน ไม่ใช้งบประมาณ เน้นการปฎิบัติรายคน
กิจกรรมที่ 2 อสม.ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและให้ความรู้กับประชาชน
กิจกรรมที่ 3 ให้ความรู้และสาธิตการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่เยาวชนและนักเรียน
กิจกรรมที่ 4 จัดซื้อเครื่องตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ พร้อมปฏิบัติการเฝ้าระวัง ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง ก่อนเข้าพื้นที่ เช่น การประกอบพิธีทางศาสนาต่างๆ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ฯ
ระยะเวลาดำเนินการ พ.ค.6๔ - ก.ย.6๔
สถานที่ดำเนินการ เขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสน อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง
ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ
กลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการ
ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องโรค Covid-19
ประชาชนมีพฤติกรรมที่สามารถป้องกัน Covid-19
ความยั่งยืนของการดำเนินการ
-มีกลุ่มเป้าหมาย แกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้น ที่ให้ความสนใจ กระตือรือร้นที่จะเข้าร่วม โครงการ
-มีทีมภาคีเครือข่าย โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่มีการสนับสนุนด้านวิชาการและด้านอื่นๆในการดำเนินโครงการโครงการ
-มีภาคประชาชน เช่น อสม.กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ส.อบต. แกนนำสุขภาพฯที่มีจิตอาสาในการช่วยเหลือประสานงานฯ
-มีหน่วยงานราชการ เช่น รพ.เขาชัยสน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่สนับสนุนและเข้าร่วมโครงการ
-มีกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ที่สนับสนุนงบประมาณ
-อบต.เขาชัยสน คณะผู้บริหารที่ให้ความสำคัญกับสุขภาพของประชาชน อำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ร่วมกันดำเนินงานโครงการให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
บทเรียนที่ได้รับ
โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 เป็นการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวัง ป้องกันตนเอง เพื่อเผชิญการระบาดของ COVID-19 และให้ความรู้ในการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันตนเองตามหลัก D-M-H-T-T-A ซึ่งจะช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ในวงกว้าง ให้กับแกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้นที่
ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
การบรรลุตามวัตถุประสงค์ บรรลุตามวัตถุประสงค์
1.ร้อยละของ ปชช.มีความรู้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19
2.ร้อยละของ ปชช.ที่ใช้พื้นที่สาธารณร่วมกัน ได้รับการตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง
จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ระบุจำนวนแน่นนอน ไม่ได้ เนื่องจากเป็นการไม่ระบุกลุ่มเป้าหมาย เน้นอำนวยความสะดวกกับผู้ใช้บริการสถานที่สาธารณ
การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 37,750 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง จำนวน 37,750 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท คิดเป็นร้อยละ –
ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน □ ไม่มี มี
ปัญหา/อุปสรรค
การแพร่ระบาดของโรคและความเร่งด่วนของการป้องกัน
การใช้จ่ายงบประมาณมีข้อจำกัด เนื่องจากเป็นกรณีที่เร่งด่วนและไม่มีแผนงานโครงการในข้อบัญญัติตำบล
แนวทางการแก้ไข
ระดมความคิดในการวางแผนให้รัดกุมให้มากที่สุด ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ใช้งบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน แทนงบประมาณขององค์การบริหารส่วนตำบล และให้กลุ่ม อสม.ตำบลเขาชัยสนเป็นผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อความเร่งด่วนของการใช้งบประมาณที่มีจำกัด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของ ปชช.มีความรู้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19
100.00
90.00
100.00
2
2.เพื่อกระตุ้นการป้องกันโรคและการเฝ้าระวังโรคด้วยการ ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละของ ปชช.ที่ใช้พื้นที่สาธารณร่วมกัน ได้รับการตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง
100.00
90.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
5000
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
5,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19 (2) 2.เพื่อกระตุ้นการป้องกันโรคและการเฝ้าระวังโรคด้วยการ ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรม อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน กิจกรรมที่ 2 ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน กิจกรรมที่ 3 แนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่เยาวชนและนักเรียน กิจกรรมที่ 4 การปฏิบัติการเฝ้าระวัง ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ม.5
รหัสโครงการ 2564–L3310-2 - 29 รหัสสัญญา 54/2564 ระยะเวลาโครงการ 15 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
กิจกรรมที่ 1 อบรม อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน
กิจกรรมที่ 2 ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน
กิจกรรมที่ 3 แนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่เยาวชนและนักเรียน
กิจกรรมที่ 4 การปฏิบัติการเฝ้าระวัง ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง ก่อนเข้าพื้นที่ เช่น การประกอบพิธีทางศาสนาต่างๆ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ฯ
ผลการดำเนินงาน
และภาพถ่ายกิจกรรม
การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้ อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน ไม่ใช้งบประมาณ เน้นการปฎิบัติรายคน
กิจกรรมที่ 2 อสม.ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและให้ความรู้กับประชาชน
ภาพกิจกรรมต่างๆ
ต่อยอดสมาชิกในครัวเรือน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
เน้นการดำเนินการเชิงรุก ปฏิบัติจริง
ภาพถ่ายกิจกรรม
การติดตามที่ต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
ปรับรูปแบบบูรณาการกับประชาชนมากขึ้น
ภาพถ่ายกิจกรรม
ดึงชุมชนมีส่วนร่วม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
กลุ่มผู้นำสุขภาพเข้มแข็ง
สมาชิก/กิจกรรมต่อเนื่อง
กิจกรรมต่อเนื่อง ทุกคนมีบทบาทตามสัดส่วนที่เหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
กลุ่ม อสม.ตำบลเขาชัยสน
ภาพถ่ายกิจกรรม
ความต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
1.ปชช.มีความรู้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19
2. ปชช.ที่ใช้พื้นที่สาธารณร่วมกัน ได้รับการตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง
1.ร้อยละของ ปชช.มีความรู้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19
2.ร้อยละของ ปชช.ที่ใช้พื้นที่สาธารณร่วมกัน ได้รับการตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง
การสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
การให้ความรู้ คำแนะนำแบบครอบครัว ลดความตื่นตระหนกในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
ภาพถ่ายกิจกรรม
เปิดช่องทางการสื่อสารที่สะดวก รวดเร็ว
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
การแนะนำการใช้สมุนไพรในการป้องกันรักษาโรค เช่นการใช้ฟ้าทะลายโจร กระชายขาว
ครัวเรือนเริ่มมีการปลูกสมุนไพร และนำมาใช้แพร่หลายมากขึ้น
การติดตามให้คำแนะนำอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
การส่งเสริมให้ทุกคนมีมาตรการป้องกันตนเองที่เข้มแข็ง
การดูแลสุขภาพที่เข้มแข็ง
มีช่องทางการติดต่อสื่อสาร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
รณรงค์การปฎิบัติตามมาตรการทางสังคมที่จริงจัง
ภาพถ่ายกิจกรรม ประชาชนปฏิบัติตามมาตรการทางสังคม
ชื่นชมให้กำลังใจ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
มาตรการDMHTT แบบเข้มงวด
ภาพถ่ายกิจกรรม
การตรวจสอบ ตักเตือน คนที่หละหลวมในการป้องกันตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
-มีกลุ่มเป้าหมาย แกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้น ที่ให้ความสนใจ กระตือรือร้นที่จะเข้าร่วม โครงการ
-มีทีมภาคีเครือข่าย โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่มีการสนับสนุนด้านวิชาการและด้านอื่นๆในการดำเนินโครงการโครงการ
-มีภาคประชาชน เช่น อสม.กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ส.อบต. แกนนำสุขภาพฯที่มีจิตอาสาในการช่วยเหลือประสานงานฯ
-มีหน่วยงานราชการ เช่น รพ.เขาชัยสน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่สนับสนุนและเข้าร่วมโครงการ
-มีกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ที่สนับสนุนงบประมาณ
-อบต.เขาชัยสน คณะผู้บริหารที่ให้ความสำคัญกับสุขภาพของประชาชน อำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ร่วมกันดำเนินงานโครงการให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
ภาพถ่ายกิจกรรม
ความต่อเนื่อง และการประสานงานที่รวดเร็ว ชัดเจน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
เมื่อเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดในชุมชน ประชาชนตั้งรับได้
ภาพกิจกรรม
มีทีมให้คำปรึกษา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
-มีกลุ่มเป้าหมาย แกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้น ที่ให้ความสนใจ กระตือรือร้นที่จะเข้าร่วม โครงการ
-มีทีมภาคีเครือข่าย โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่มีการสนับสนุนด้านวิชาการและด้านอื่นๆในการดำเนินโครงการโครงการ
-มีภาคประชาชน เช่น อสม.กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ส.อบต. แกนนำสุขภาพฯที่มีจิตอาสาในการช่วยเหลือประสานงานฯ
-มีหน่วยงานราชการ เช่น รพ.เขาชัยสน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่สนับสนุนและเข้าร่วมโครงการ
-มีกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ที่สนับสนุนงบประมาณ
-อบต.เขาชัยสน คณะผู้บริหารที่ให้ความสำคัญกับสุขภาพของประชาชน อำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ร่วมกันดำเนินงานโครงการให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
ภาพกิจกรรม
ความต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
-แกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้น ที่ให้ความสนใจ กระตือรือร้นและปฏิบัติมาตราการอย่างเคร่งครัด
-มีทีมภาคีเครือข่าย โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีการสนับสนุนด้านวิชาการและด้านอื่นๆในการดำเนินโครงการ
-ภาคประชาชน เช่น อสม.กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ส.อบต. แกนนำสุขภาพฯมีจิตอาสาในการช่วยเหลือประสานงานฯ
-มีหน่วยงานราชการ เช่น รพ.เขาชัยสน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่สนับสนุนและเข้าร่วมโครงการ -มีกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ที่สนับสนุนงบประมาณ
-อบต.เขาชัยสน คณะผู้บริหารที่ให้ความสำคัญกับสุขภาพของประชาชน อำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ร่วมกันดำเนินงานโครงการให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
รายงานผลการดำเนินงาน/ภาพถ่ายกิจกรรม
สร้างความตระหนักและมีช่องทางการให้คำปรึกษากับคณะทำงาน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 เป็นการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวัง ป้องกันตนเอง เพื่อเผชิญการระบาดของ COVID-19 และให้ความรู้ในการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันตนเองตามหลัก D-M-H-T-T-A ซึ่งจะช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ในวงกว้าง ให้กับแกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้นที่
รายงานผลกิจกรรม/ภาพถ่าย
การส่งเสริมและสนับสนุนองค์ความรู้ใหม่ๆให้แก่จิตอาสา แกนนำชุมชนอย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
มีการกำหนดแผนการทำงาน และดำเนินการตามแผนงานที่วางไว้
รายงานผลกิจกรรม
มีการเชิญชม ให้กำลังใจ สร้างแรงบันดาลใจในการทำงาน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
กิจกรรมการให้ความรู้ การแนะนำตามมาตราการอย่างเข้าใจ มั่นใจ
ภาพถ่ายกิจกรรม
การชื่นชม เสริมแรงจูงใจ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
กิจกรรมการลงพื้นที่ ต้องเสียสละเวลาส่วนตัว ต้องมีจิตอาสาที่แท้จริง
ภาพถ่ายกิจกรรม
การชื่นชม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ม.5 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2564–L3310-2 - 29
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางพัสวี ประทุมสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ม.5 ”
ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางพัสวี ประทุมสุวรรณ
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2564–L3310-2 - 29 เลขที่ข้อตกลง 54/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ม.5 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ม.5
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ม.5 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2564–L3310-2 - 29 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโครน่า หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้พื้นที่ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง เริ่มมีผู้ป่วยโควิด ในเขตเทศบาลเขาชัยสน ซึ่งเชื่อมต่อกับพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสน ปัจจุบันข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ณ วันที่ ๕ พ.ค. ๖๔ จังหวัดพัทลุง พบเชื้อระลอกเมษายน ๒๕๖๔ จำนวน ๓๒๘ ราย พบเชื้อสะสมทั้งหมด(ระลอก1-3)จำนวน ๓๔๕ ราย มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย
ดังนั้น เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฯ การปฎิบัติตามมาตรการการป้องกันไม่ให้ติดโรค COVID-19 นั้นถือว่าจำเป็นมาก ควบคู่ไปกับการดูแลรักษาร่างกายให้แข็งแรง การป้องกันตนเอง ตามมาตรการ D-M-H-T-T เว้นระยะห่าง การสวมหน้ากากอนามัย การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง ทั้งด้วยแอลกอฮอล์ สบู่ การตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายฯ
อาศัยตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๓ “ข้อ ๑๐/1 เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดการระบาดของโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ และคณะกรรมการกองทุนไม่อาจอนุมัติค่าใช้จ่ายตามข้อ ๑๐ ได้ทันต่อสถานการณ์ ให้ประธานกรรมการตามข้อ ๑๒ มีอำนาจอนุมัติโครงการหรือกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขกรณีเกิดโรคระบาดของโรคติดต่ออันตรายตามกฏหมายว่าด้วยโรคติดต่อได้ตามความจำเป็นได้ไม่เกินหนึ่งแสนบาทต่อโครงการ โดยให้ถือว่าเป็นโครงการหรือกิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติตามประกาศนี้ด้วย แล้วรายงานผลการดำเนินงานให้คณะกรรมการกองทุนทราบ”
อบต.เขาชัยสน จึงขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสนในครั้งนี้ เพื่อการดำเนินโครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ในการดำเนินการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการป้องกันและเฝ้าระวังโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19
- 2.เพื่อกระตุ้นการป้องกันโรคและการเฝ้าระวังโรคด้วยการ ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรม อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน กิจกรรมที่ 2 ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน กิจกรรมที่ 3 แนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่เยาวชนและนักเรียน กิจกรรมที่ 4 การปฏิบัติการเฝ้าระวัง ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 5,000 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องโรค Covid-19
ประชาชนมีพฤติกรรมที่สามารถป้องกัน Covid-19
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ 1 อบรม อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน กิจกรรมที่ 2 ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน กิจกรรมที่ 3 แนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่เยาวชนและนักเรียน กิจกรรมที่ 4 การปฏิบัติการเฝ้าระวัง ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอ |
||
วันที่ 15 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำวิธีดำเนินการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ปชช.มีความรู้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19 ร้อยละ 90 2.ปชช.ที่ใช้พื้นที่สาธารณร่วมกัน ได้รับการตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงาน
มีกิจกรรมทั้งหมด 4 กิจกรรม ประกอบด้วย
กิจกรรมที่ 1 อบรม อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน
กิจกรรมที่ 2 ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน
กิจกรรมที่ 3 แนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่เยาวชนและนักเรียน
กิจกรรมที่ 4 การปฏิบัติการเฝ้าระวัง ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง ก่อนเข้าพื้นที่ เช่น การประกอบพิธีทางศาสนาต่างๆ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สถานที่ท่องเที่ยว สถานราชการ
วิธีดำเนินการ
กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้ อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน ไม่ใช้งบประมาณ เน้นการปฎิบัติรายคน
กิจกรรมที่ 2 อสม.ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและให้ความรู้กับประชาชน
กิจกรรมที่ 3 ให้ความรู้และสาธิตการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่เยาวชนและนักเรียน
กิจกรรมที่ 4 จัดซื้อเครื่องตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ พร้อมปฏิบัติการเฝ้าระวัง ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง ก่อนเข้าพื้นที่ เช่น การประกอบพิธีทางศาสนาต่างๆ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ฯ
ระยะเวลาดำเนินการ พ.ค.6๔ - ก.ย.6๔
สถานที่ดำเนินการ เขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเขาชัยสน อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง
ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ
กลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการ
ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องโรค Covid-19
ประชาชนมีพฤติกรรมที่สามารถป้องกัน Covid-19
ความยั่งยืนของการดำเนินการ
-มีกลุ่มเป้าหมาย แกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้น ที่ให้ความสนใจ กระตือรือร้นที่จะเข้าร่วม โครงการ
-มีทีมภาคีเครือข่าย โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่มีการสนับสนุนด้านวิชาการและด้านอื่นๆในการดำเนินโครงการโครงการ
-มีภาคประชาชน เช่น อสม.กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ส.อบต. แกนนำสุขภาพฯที่มีจิตอาสาในการช่วยเหลือประสานงานฯ
-มีหน่วยงานราชการ เช่น รพ.เขาชัยสน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่สนับสนุนและเข้าร่วมโครงการ
-มีกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ที่สนับสนุนงบประมาณ
-อบต.เขาชัยสน คณะผู้บริหารที่ให้ความสำคัญกับสุขภาพของประชาชน อำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ร่วมกันดำเนินงานโครงการให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
บทเรียนที่ได้รับ
โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 เป็นการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวัง ป้องกันตนเอง เพื่อเผชิญการระบาดของ COVID-19 และให้ความรู้ในการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันตนเองตามหลัก D-M-H-T-T-A ซึ่งจะช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ในวงกว้าง ให้กับแกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้นที่
ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
การบรรลุตามวัตถุประสงค์ บรรลุตามวัตถุประสงค์
1.ร้อยละของ ปชช.มีความรู้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19
2.ร้อยละของ ปชช.ที่ใช้พื้นที่สาธารณร่วมกัน ได้รับการตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง
จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ระบุจำนวนแน่นนอน ไม่ได้ เนื่องจากเป็นการไม่ระบุกลุ่มเป้าหมาย เน้นอำนวยความสะดวกกับผู้ใช้บริการสถานที่สาธารณ
การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 37,750 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง จำนวน 37,750 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท คิดเป็นร้อยละ –
ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน □ ไม่มี มี
ปัญหา/อุปสรรค
การแพร่ระบาดของโรคและความเร่งด่วนของการป้องกัน
การใช้จ่ายงบประมาณมีข้อจำกัด เนื่องจากเป็นกรณีที่เร่งด่วนและไม่มีแผนงานโครงการในข้อบัญญัติตำบล
แนวทางการแก้ไข
ระดมความคิดในการวางแผนให้รัดกุมให้มากที่สุด ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ใช้งบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน แทนงบประมาณขององค์การบริหารส่วนตำบล และให้กลุ่ม อสม.ตำบลเขาชัยสนเป็นผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อความเร่งด่วนของการใช้งบประมาณที่มีจำกัด
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19 ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของ ปชช.มีความรู้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19 |
100.00 | 90.00 | 100.00 |
|
2 | 2.เพื่อกระตุ้นการป้องกันโรคและการเฝ้าระวังโรคด้วยการ ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละของ ปชช.ที่ใช้พื้นที่สาธารณร่วมกัน ได้รับการตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง |
100.00 | 90.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 5000 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 5,000 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19 (2) 2.เพื่อกระตุ้นการป้องกันโรคและการเฝ้าระวังโรคด้วยการ ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรม อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน กิจกรรมที่ 2 ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน กิจกรรมที่ 3 แนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่เยาวชนและนักเรียน กิจกรรมที่ 4 การปฏิบัติการเฝ้าระวัง ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ม.5
รหัสโครงการ 2564–L3310-2 - 29 รหัสสัญญา 54/2564 ระยะเวลาโครงการ 15 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
กิจกรรมที่ 1 อบรม อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน
กิจกรรมที่ 2 ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน
กิจกรรมที่ 3 แนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่เยาวชนและนักเรียน
กิจกรรมที่ 4 การปฏิบัติการเฝ้าระวัง ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง ก่อนเข้าพื้นที่ เช่น การประกอบพิธีทางศาสนาต่างๆ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ฯ
ผลการดำเนินงาน
และภาพถ่ายกิจกรรม
การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้ อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน ไม่ใช้งบประมาณ เน้นการปฎิบัติรายคน
กิจกรรมที่ 2 อสม.ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและให้ความรู้กับประชาชน
ภาพกิจกรรมต่างๆ
ต่อยอดสมาชิกในครัวเรือน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
เน้นการดำเนินการเชิงรุก ปฏิบัติจริง
ภาพถ่ายกิจกรรม
การติดตามที่ต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
ปรับรูปแบบบูรณาการกับประชาชนมากขึ้น
ภาพถ่ายกิจกรรม
ดึงชุมชนมีส่วนร่วม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
กลุ่มผู้นำสุขภาพเข้มแข็ง
สมาชิก/กิจกรรมต่อเนื่อง
กิจกรรมต่อเนื่อง ทุกคนมีบทบาทตามสัดส่วนที่เหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
กลุ่ม อสม.ตำบลเขาชัยสน
ภาพถ่ายกิจกรรม
ความต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
1.ปชช.มีความรู้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19
2. ปชช.ที่ใช้พื้นที่สาธารณร่วมกัน ได้รับการตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง
1.ร้อยละของ ปชช.มีความรู้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19
2.ร้อยละของ ปชช.ที่ใช้พื้นที่สาธารณร่วมกัน ได้รับการตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง
การสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
การให้ความรู้ คำแนะนำแบบครอบครัว ลดความตื่นตระหนกในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
ภาพถ่ายกิจกรรม
เปิดช่องทางการสื่อสารที่สะดวก รวดเร็ว
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
การแนะนำการใช้สมุนไพรในการป้องกันรักษาโรค เช่นการใช้ฟ้าทะลายโจร กระชายขาว
ครัวเรือนเริ่มมีการปลูกสมุนไพร และนำมาใช้แพร่หลายมากขึ้น
การติดตามให้คำแนะนำอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
การส่งเสริมให้ทุกคนมีมาตรการป้องกันตนเองที่เข้มแข็ง
การดูแลสุขภาพที่เข้มแข็ง
มีช่องทางการติดต่อสื่อสาร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
รณรงค์การปฎิบัติตามมาตรการทางสังคมที่จริงจัง
ภาพถ่ายกิจกรรม ประชาชนปฏิบัติตามมาตรการทางสังคม
ชื่นชมให้กำลังใจ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
มาตรการDMHTT แบบเข้มงวด
ภาพถ่ายกิจกรรม
การตรวจสอบ ตักเตือน คนที่หละหลวมในการป้องกันตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
-มีกลุ่มเป้าหมาย แกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้น ที่ให้ความสนใจ กระตือรือร้นที่จะเข้าร่วม โครงการ
-มีทีมภาคีเครือข่าย โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่มีการสนับสนุนด้านวิชาการและด้านอื่นๆในการดำเนินโครงการโครงการ
-มีภาคประชาชน เช่น อสม.กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ส.อบต. แกนนำสุขภาพฯที่มีจิตอาสาในการช่วยเหลือประสานงานฯ
-มีหน่วยงานราชการ เช่น รพ.เขาชัยสน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่สนับสนุนและเข้าร่วมโครงการ
-มีกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ที่สนับสนุนงบประมาณ
-อบต.เขาชัยสน คณะผู้บริหารที่ให้ความสำคัญกับสุขภาพของประชาชน อำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ร่วมกันดำเนินงานโครงการให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
ภาพถ่ายกิจกรรม
ความต่อเนื่อง และการประสานงานที่รวดเร็ว ชัดเจน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
เมื่อเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดในชุมชน ประชาชนตั้งรับได้
ภาพกิจกรรม
มีทีมให้คำปรึกษา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
-มีกลุ่มเป้าหมาย แกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้น ที่ให้ความสนใจ กระตือรือร้นที่จะเข้าร่วม โครงการ
-มีทีมภาคีเครือข่าย โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่มีการสนับสนุนด้านวิชาการและด้านอื่นๆในการดำเนินโครงการโครงการ
-มีภาคประชาชน เช่น อสม.กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ส.อบต. แกนนำสุขภาพฯที่มีจิตอาสาในการช่วยเหลือประสานงานฯ
-มีหน่วยงานราชการ เช่น รพ.เขาชัยสน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่สนับสนุนและเข้าร่วมโครงการ
-มีกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ที่สนับสนุนงบประมาณ
-อบต.เขาชัยสน คณะผู้บริหารที่ให้ความสำคัญกับสุขภาพของประชาชน อำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ร่วมกันดำเนินงานโครงการให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
ภาพกิจกรรม
ความต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
-แกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้น ที่ให้ความสนใจ กระตือรือร้นและปฏิบัติมาตราการอย่างเคร่งครัด
-มีทีมภาคีเครือข่าย โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีการสนับสนุนด้านวิชาการและด้านอื่นๆในการดำเนินโครงการ
-ภาคประชาชน เช่น อสม.กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ส.อบต. แกนนำสุขภาพฯมีจิตอาสาในการช่วยเหลือประสานงานฯ
-มีหน่วยงานราชการ เช่น รพ.เขาชัยสน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่สนับสนุนและเข้าร่วมโครงการ -มีกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ที่สนับสนุนงบประมาณ
-อบต.เขาชัยสน คณะผู้บริหารที่ให้ความสำคัญกับสุขภาพของประชาชน อำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ร่วมกันดำเนินงานโครงการให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
รายงานผลการดำเนินงาน/ภาพถ่ายกิจกรรม
สร้างความตระหนักและมีช่องทางการให้คำปรึกษากับคณะทำงาน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 เป็นการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวัง ป้องกันตนเอง เพื่อเผชิญการระบาดของ COVID-19 และให้ความรู้ในการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันตนเองตามหลัก D-M-H-T-T-A ซึ่งจะช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ในวงกว้าง ให้กับแกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้นที่
รายงานผลกิจกรรม/ภาพถ่าย
การส่งเสริมและสนับสนุนองค์ความรู้ใหม่ๆให้แก่จิตอาสา แกนนำชุมชนอย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
มีการกำหนดแผนการทำงาน และดำเนินการตามแผนงานที่วางไว้
รายงานผลกิจกรรม
มีการเชิญชม ให้กำลังใจ สร้างแรงบันดาลใจในการทำงาน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
กิจกรรมการให้ความรู้ การแนะนำตามมาตราการอย่างเข้าใจ มั่นใจ
ภาพถ่ายกิจกรรม
การชื่นชม เสริมแรงจูงใจ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
กิจกรรมการลงพื้นที่ ต้องเสียสละเวลาส่วนตัว ต้องมีจิตอาสาที่แท้จริง
ภาพถ่ายกิจกรรม
การชื่นชม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ม.5
รหัสโครงการ 2564–L3310-2 - 29 รหัสสัญญา 54/2564 ระยะเวลาโครงการ 15 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | กิจกรรมที่ 1 อบรม อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน กิจกรรมที่ 2 ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับประชาชน กิจกรรมที่ 3 แนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่เยาวชนและนักเรียน กิจกรรมที่ 4 การปฏิบัติการเฝ้าระวัง ตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง ก่อนเข้าพื้นที่ เช่น การประกอบพิธีทางศาสนาต่างๆ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ฯ |
ผลการดำเนินงาน และภาพถ่ายกิจกรรม |
การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้ อสม.เฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน ไม่ใช้งบประมาณ เน้นการปฎิบัติรายคน กิจกรรมที่ 2 อสม.ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและให้ความรู้กับประชาชน |
ภาพกิจกรรมต่างๆ |
ต่อยอดสมาชิกในครัวเรือน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | เน้นการดำเนินการเชิงรุก ปฏิบัติจริง |
ภาพถ่ายกิจกรรม |
การติดตามที่ต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | ปรับรูปแบบบูรณาการกับประชาชนมากขึ้น |
ภาพถ่ายกิจกรรม |
ดึงชุมชนมีส่วนร่วม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | กลุ่มผู้นำสุขภาพเข้มแข็ง |
สมาชิก/กิจกรรมต่อเนื่อง |
กิจกรรมต่อเนื่อง ทุกคนมีบทบาทตามสัดส่วนที่เหมาะสม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | กลุ่ม อสม.ตำบลเขาชัยสน |
ภาพถ่ายกิจกรรม |
ความต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล | 1.ปชช.มีความรู้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19 2. ปชช.ที่ใช้พื้นที่สาธารณร่วมกัน ได้รับการตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง |
1.ร้อยละของ ปชช.มีความรู้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19 2.ร้อยละของ ปชช.ที่ใช้พื้นที่สาธารณร่วมกัน ได้รับการตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ทุกครั้ง |
การสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด | การให้ความรู้ คำแนะนำแบบครอบครัว ลดความตื่นตระหนกในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร |
ภาพถ่ายกิจกรรม |
เปิดช่องทางการสื่อสารที่สะดวก รวดเร็ว |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง | การแนะนำการใช้สมุนไพรในการป้องกันรักษาโรค เช่นการใช้ฟ้าทะลายโจร กระชายขาว |
ครัวเรือนเริ่มมีการปลูกสมุนไพร และนำมาใช้แพร่หลายมากขึ้น |
การติดตามให้คำแนะนำอย่างต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน | การส่งเสริมให้ทุกคนมีมาตรการป้องกันตนเองที่เข้มแข็ง |
การดูแลสุขภาพที่เข้มแข็ง |
มีช่องทางการติดต่อสื่อสาร |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน | รณรงค์การปฎิบัติตามมาตรการทางสังคมที่จริงจัง |
ภาพถ่ายกิจกรรม ประชาชนปฏิบัติตามมาตรการทางสังคม |
ชื่นชมให้กำลังใจ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน | มาตรการDMHTT แบบเข้มงวด |
ภาพถ่ายกิจกรรม |
การตรวจสอบ ตักเตือน คนที่หละหลวมในการป้องกันตนเอง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) | -มีกลุ่มเป้าหมาย แกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้น ที่ให้ความสนใจ กระตือรือร้นที่จะเข้าร่วม โครงการ
-มีทีมภาคีเครือข่าย โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่มีการสนับสนุนด้านวิชาการและด้านอื่นๆในการดำเนินโครงการโครงการ
-มีภาคประชาชน เช่น อสม.กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ส.อบต. แกนนำสุขภาพฯที่มีจิตอาสาในการช่วยเหลือประสานงานฯ
-มีหน่วยงานราชการ เช่น รพ.เขาชัยสน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่สนับสนุนและเข้าร่วมโครงการ
-มีกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ที่สนับสนุนงบประมาณ |
ภาพถ่ายกิจกรรม |
ความต่อเนื่อง และการประสานงานที่รวดเร็ว ชัดเจน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) | เมื่อเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดในชุมชน ประชาชนตั้งรับได้ |
ภาพกิจกรรม |
มีทีมให้คำปรึกษา |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน | -มีกลุ่มเป้าหมาย แกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้น ที่ให้ความสนใจ กระตือรือร้นที่จะเข้าร่วม โครงการ
-มีทีมภาคีเครือข่าย โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่มีการสนับสนุนด้านวิชาการและด้านอื่นๆในการดำเนินโครงการโครงการ
-มีภาคประชาชน เช่น อสม.กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ส.อบต. แกนนำสุขภาพฯที่มีจิตอาสาในการช่วยเหลือประสานงานฯ
-มีหน่วยงานราชการ เช่น รพ.เขาชัยสน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่สนับสนุนและเข้าร่วมโครงการ
-มีกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาชัยสน ที่สนับสนุนงบประมาณ |
ภาพกิจกรรม |
ความต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง | -แกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้น ที่ให้ความสนใจ กระตือรือร้นและปฏิบัติมาตราการอย่างเคร่งครัด
-มีทีมภาคีเครือข่าย โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีการสนับสนุนด้านวิชาการและด้านอื่นๆในการดำเนินโครงการ
-ภาคประชาชน เช่น อสม.กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ส.อบต. แกนนำสุขภาพฯมีจิตอาสาในการช่วยเหลือประสานงานฯ |
รายงานผลการดำเนินงาน/ภาพถ่ายกิจกรรม |
สร้างความตระหนักและมีช่องทางการให้คำปรึกษากับคณะทำงาน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน | โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 เป็นการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวัง ป้องกันตนเอง เพื่อเผชิญการระบาดของ COVID-19 และให้ความรู้ในการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันตนเองตามหลัก D-M-H-T-T-A ซึ่งจะช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ในวงกว้าง ให้กับแกนนำชุมชน อสม. หน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ศพด. ในพื้นที่ |
รายงานผลกิจกรรม/ภาพถ่าย |
การส่งเสริมและสนับสนุนองค์ความรู้ใหม่ๆให้แก่จิตอาสา แกนนำชุมชนอย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ | มีการกำหนดแผนการทำงาน และดำเนินการตามแผนงานที่วางไว้ |
รายงานผลกิจกรรม |
มีการเชิญชม ให้กำลังใจ สร้างแรงบันดาลใจในการทำงาน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน | กิจกรรมการให้ความรู้ การแนะนำตามมาตราการอย่างเข้าใจ มั่นใจ |
ภาพถ่ายกิจกรรม |
การชื่นชม เสริมแรงจูงใจ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล | กิจกรรมการลงพื้นที่ ต้องเสียสละเวลาส่วนตัว ต้องมีจิตอาสาที่แท้จริง |
ภาพถ่ายกิจกรรม |
การชื่นชม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19 ม.5 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2564–L3310-2 - 29
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางพัสวี ประทุมสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......