กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
การจัดทำรูปเล่มรายงาน20 ธันวาคม 2560
20
ธันวาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดทำรูปเล่มรายงาน

ติดตามเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินและผอม โดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะทุพโภชนาการ1 ธันวาคม 2560
1
ธันวาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการติดตามเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และเกินกว่าเกณฑ์ โดยการเยี่ยมบ้านได้ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง จำนวน 2-3 ครั้ง พร้อมทั้งให้คำแนะนำผู้ปกครองในการดำเนินการต่อเนื่อง พบว่า เด็กที่มีน้ำหนักน้อยเกิน จำนวน 6 คน มีเด็กที่มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น 5 คน คิดเป็นร้อยละ 83 และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยเกิน จำนวน 4 คน มีเด็กน้ำหนักเพิ่มขึ้น จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ  75 เด็กที่มีน้ำหนักค่อนข้างมาก จำนวน 2 คน มีน้ำหนักลดลง จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 50 เด็กที่มีน้ำหนักมากเกินเกณฑ์ จำนวน 1 คน น้ำหนักไม่ลดยังคงเท่าเดิม รวมทั้งมีเด็กที่ไม่กินผัก จำนวน 28 กินผักเพิ่มขึ้น จำนวน 23  คนคิดเป็นร้อยละ 82 ตามลำดับ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 13 คน จากที่ตั้งไว้ 4 คน
ประกอบด้วย
เสริมประสบการณ์ การประกอบอาหาร4 ตุลาคม 2560
4
ตุลาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เด็กเล็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าแลหลามีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 153 คน จากที่ตั้งไว้ 153 คน
ประกอบด้วย
ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 2-5 ปี แก่ครูผูู้แลเด็ก ผู้ปกครองและแม่ครัว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก2 ตุลาคม 2560
2
ตุลาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการจัดอบรมให้ความรู้ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 53 คน ซึ่งการทดสอบการให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องโภชนาการและอาหารที่เหมาะสมสำหรับเด็กปฐมวัย พบว่า ก่อนการอบรมผู้เข้าร่วมโครงการมีระดับความรู้อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 15  มีระดับความรู้อยู่ในระดับดี ร้อยละ 60 และมีความรู้ระดับพอใช้ ร้อยละ 25 และหลังการอบรมผู้เข้าร่วมโครงการมีระดับความรู้อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 89 และมีความรู้อยู่ในระดับดี ร้อยละ 11

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 79 คน จากที่ตั้งไว้ 79 คน
ประกอบด้วย
เฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็ก1 กันยายน 2560
1
กันยายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการของเด็กอายุ 2-5 ปี ได้ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง บันทึกผลในสมุดทะเบียนเด็ก และสมุดบันทึกสุขภาพเด็กดีสีชมพู พร้อมแจ้งผลให้ผู้ปกครองทราบ พร้อมกับจัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นรายเฉพาะ และได้จัดทำคู่มือเมนูอาหารสำหรับเด็กปฐมวัยแต่ละชนิด คุณประโยชน์ของอาหารแต่ละชนิด และโภชนาการสำหรับเด็ก ให้แก่ผู้ปกครอง

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 75 คน จากที่ตั้งไว้ 75 คน
ประกอบด้วย