กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการออกกำลังกายโดยใช้สมาธิบำบัด (SKT) ฯ ”
ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายประยงค์ ขวัญสิริดำรง




ชื่อโครงการ โครงการออกกำลังกายโดยใช้สมาธิบำบัด (SKT) ฯ

ที่อยู่ ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1529-1-05 เลขที่ข้อตกลง 11/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการออกกำลังกายโดยใช้สมาธิบำบัด (SKT) ฯ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการออกกำลังกายโดยใช้สมาธิบำบัด (SKT) ฯ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการออกกำลังกายโดยใช้สมาธิบำบัด (SKT) ฯ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1529-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้พัฒนามากขึ้นเรื่อยๆ แต่โรคภัยก็คุกคามมนุษย์มากขึ้นเช่นกัน ภัยสุขภาพที่คุกคามมนุษย์มากที่สุดคือโรคที่เกิดจากพฤติกรรมผิดปกติ ดังนั้นต้องปรับใจและต้องใช่สมาธิบำบัดเป็นตัวช่วยที่สำคัญ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยอและการแพทย์ทางเลือกได้เล็งเห็นความสำคัญของสมาธิบำบัดและได้ดำเนินโครงการสมาธิบำบัดในระบบสุขภาพอย่างต่อเนื่อง การฝึกสมาธิบำบัดได้รับการยอมรับเป็นอย่างมาก เพื่อนำมาบำบัดโรคต่างๆ ที่ยังเป็นปัญหาในการรักษาของแพทย์ปัจจุบัน การฝึกสมาธิช่วยบำบัดโรคเรื้อรังต่างๆได้ดี ทำให้ผลการรักษาดีขึ้น ใช้ยาน้อยลง หรืองดการใช้ยาได้ โดยหลักการของสมาธิคือการทำจิตใจให้สงบอันจะส่งผลให้การทำงานของร่างกายเป็นไปตามปกติ จากการพัฒนาเทคนิคความเชื่อมโยงของการปฏิบัติสมาธิกับการทำงานของระบบประสาทประกอบกับการวิจัยเรื่องสมาธิเพื่อสร้างเสริมสุขภาพของ รศ.ดร.สมพร กันทรดุษฎี-เตรียมชัยศรี อาจารย์ประจำภาควิชาการพยาบาลสาธาณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่าการทำสมาธิแบสมถะ หายใจเข้าพุทธ หายใจออกโธ นั้นสามารถช่วยให้คลายเครียดได้อย่างดี ซึ่งการฝึกควบคุมประสาทสัมผัสทั้ง 6 อันได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น การสัมผัส และการเคลื่อนไหวด้วย จะทำให้การทำสมาธินั้นมีผลต่อการทำงานของระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทส่วนปลาย ระบบประสาทอัตโนมัติ ระบบอารมณ์และพฤติกรรมระบบภูมิต้านทานของร่างกาย ระบบไหลเวียนเลือด และระบบอื่นๆในร่างกายได้เป็นอย่างดี ซึ่งการฝึกสมาธิบำบัดนั่นมีทั้งหมด 7 เทคนิค หรือเรียกว่า SKT 1 - 7 ซึ่งสามารถทำให้ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตที่สูงลดลงได้ และจิตใจสงบมากขึ้น สถานการณ์โรคเรื้อรัง NCD ที่เป็นปัญหาของพื้นที่ตำบลท่างิ้ว ปี 2563 พบว่า มีผู้ป่วยความด้นโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ 241 ราย คิดอัตราป่วยต่อแสนประชากร 37.30 จากจำนวนผู้โรคความดันโลหิตสูงจำนวน 646 ราย สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองไม่เหมาะสม เช่น การรับประทานอาหารเค็ม รับประทานยาไม่ต่อเนื่อง การลืมรับประทานยา ส่งผลให้ระดับความดันโลหิตมากกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท จนอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างรุนแรงเป็ฯนอันตรายต่อชีวิตได้ จากปัญหาดังกล่าวทำให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ที่บุคลากรทางสาธาณสุขต้องให้ความสนใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่างิ้ว ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ได้ตระหนักถึงปัญหาของการควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการออกกำลังกายโดยใช้วิธีสมาธิบำบัด (SKT) กับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเพื่อที่จะทำให้ความดันโลหิตสูงลดลงได้ และสามารถนำการฝึกอบรมสมาธิบำบัดไปใช้ในครอบครัวเผยแพร่ให้กับคนในชุมชนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ได้รับความรู้เกี่ยวกับสมาธิบำบัด SKT 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ได้ฝึกสมาธิบำบัด SKT 3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ มีระดับความดันโลหิตลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 40
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นแกนนำและถ่ายทอดการฝึกสมาธิบำบัด SKT ได้
    2. อัตราการควบคุมระดับความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้เพิ่มขึ้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ได้รับความรู้เกี่ยวกับสมาธิบำบัด SKT 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ได้ฝึกสมาธิบำบัด SKT 3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ มีระดับความดันโลหิตลดลง
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เกี่ยวกับสมาธิบำบัด SKT มากกว่าร้อยละ 80 2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้ฝึกสมาธิบำบัด SKT มากกว่าร้อยละ 90 3.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีระดับความดันโลหิตลดลงจากเดิม มากกว่าร้อยละ 80
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 40
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ได้รับความรู้เกี่ยวกับสมาธิบำบัด SKT 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ได้ฝึกสมาธิบำบัด SKT  3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ มีระดับความดันโลหิตลดลง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการออกกำลังกายโดยใช้สมาธิบำบัด (SKT) ฯ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 64-L1529-1-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประยงค์ ขวัญสิริดำรง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด