กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว


“ โครงการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กแรกเกิดจนถึง๕ปี ในเขตเทศบาลตำบลท่างิ้ว อ.ห้วยยอด จ.ตรัง ”

ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายประยงค์ ขวัญสิริดำรง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กแรกเกิดจนถึง๕ปี ในเขตเทศบาลตำบลท่างิ้ว อ.ห้วยยอด จ.ตรัง

ที่อยู่ ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1529-1-03 เลขที่ข้อตกลง 9/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กแรกเกิดจนถึง๕ปี ในเขตเทศบาลตำบลท่างิ้ว อ.ห้วยยอด จ.ตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กแรกเกิดจนถึง๕ปี ในเขตเทศบาลตำบลท่างิ้ว อ.ห้วยยอด จ.ตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กแรกเกิดจนถึง๕ปี ในเขตเทศบาลตำบลท่างิ้ว อ.ห้วยยอด จ.ตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1529-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,951.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจสถานการณ์ฟันผุในเด็กไทยพบว่าเด็กเริ่มฟันผุตั้งแต่อายุ ๙ เดือน และพบว่าเด็กอายุ ๓ ปี มีฟันผุเฉลี่ย ๓ ซี่ต่อคน สาเหตุหลักของฟันผุในเด็กเล็กมาจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูไมเหมาะสม เช่น การให้เด็กทานขนมหรือนมที่มีรสหวานเป็นประจำ การปล่อยให้เด็กหลับคาขวดนมหลังจากฟันขึ้นแล้ว หรือผู้ปกครองละเลยเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก โดยไม่ได้เริ่มแปรงฟันตั้งแต่ฟันน้ำนมซี่แรกขึ้นผลกระทบของโรคฟันผุในเด็กสามารถส่งผลกระบต่อสุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากในอนาคตได้ การมีฟันน้ำนมผุ เด็กจะปวดฟัน เคี้ยวอาหารไม่ได้ ร่างกายจะได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วนส่งผลต่อการเจริญเติบโต อีกทั้งอาการปวดยังส่งผลต่อการนอนหลับและการเรียนรู้ สิ่งเหล่านี้ล้วนกระทบต่อคุณภาพชีวิตของเด็กตัวเล็กๆ สามารถขัดขวางพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์และสติปัญญาได้ โรคฟันผุถือเป็นโรคที่สำคัญที่พบได้ในเด็กก่อนวัยเรียน จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพในเขตอำเภอห้วยยอด เด็กช่วงอายุ ๓ ปีถึง ๓ ปี ๑๑ เดือน ข้อมูลเปรียบเทียบร้อยละของเด็ก ๓ ปีฟันน้ำนมผุ ในภาพรวมของจังหวัดตรังกับอำเภอห้วยยอด ข้อมูลเด็ก ๓ ปีฟันผุ ในปี ๒๕๖๑-๒๕๖๓ มีฟัน้ำมผุร้อยละ ๔๘.๘,๔๔.๗ และ๔๓.๐๙ ตามลำดับส้วนของอำเภอห้วยยอด ในปี ๒๕๖๑-๒๕๖๓ มีฟันน้ำนมผุร้อยละ ๕๐.๕,๔๕.๓และ๔๕.๘ตามลำดับ ในส่วนของเทศบาลท่างิัวพบว่าอัตราการเกิดโรคฟันผุเด็กช่วงอายุ ๓ ปี ถึง ๓ปี๑๑เดือน ในปี๒๕๖๑-๒๕๖๓มีฟันน้ำนมผุร้อยละ ๕๑.๑,๕๘.๑และ ๔๘ ตามลำดับ พบว่า อ.ห้วยยอดยังมีปัญหาเด็กฟันผุมากกวาระดับจังหวัดืดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีมาตรการในการป้องกันการเกิดโรคฟันผุตั้งแต่การให้คำแนะนำเรื่องการรับประทานอาหารให้ถูกต้อง การแปรงฟันและกรใช้ไหมขัดฟันที่ถูกวิธีกับผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก การใช้ฟลูออไรด์วานิชซึี่งได้รับการยอมรับว่าเป็นวิธีการเหมาะสมกับเด็กเล็กที่ให้ความร่วมมือในการรักษาน้อยและยังสามารถยังสามารถหยุดการลุกลามของฟันผุในระยะเริ่มเเรกได้เป็นอย่างดี ในส่วนที่มีปัญหาฟันเป็นรูแล้วและยังไม่พร้อมที่จะทำการบูรณะ การใช้วัสดุอุดฟันประเภทกลาสโอโนเมอร์ ซีเมนต์ ที่มีคุณสมบัติมีการปลดปล่อยฟลูออไรด์ในปริมาณที่สูง จะเพิ่มการคืนกลับของแร่ธาตุ มีความสำคัญต่อการควบคุมการเกิดฟันผุซ้าได้ การมีมาตรการทางทันตกรรมในเด็กแรกเกิดจนถึเด็กอนุบาล ๑ อย่างจริงจังและต่อเนื่อง พบว่าสามารถลดการเกิดฟันผุในเด็กวัยเรียนได้อย่างมีประสิทธิผล การให้บริการทันตกรรมโดยการใช้ฟลูออไรด์วานิชในเด้กที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุหรือมีฟันผุระยะแรกการเลือกรัประทานอาหารที่เหมาะสม ร่วมไปกับการแปรงฟันที่ถูกต้องแต่หาดเป็นเด็กที่ยังไม่ถึงวัยเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กิจกรรมส่งเสริม ป้องกันที่เลือกใช้คือ การลงเยี่ยมบ้าน ควบคู่ไปกับการให้ควมรู้ มันตสุขภาพ และฝึกทักษะสาธิตการแประฟันแบบปฏิบัติตริงแก่ผู้ปกครอง และใช้ฟลูออไรด์วานิชในเด็กที่ฟันเริ่มขึ้นแล้ว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่างิ้ว เล็งเห็นความสำคัญของการแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กเล็กอันจะนำไปสู่การมีทันตสุขภาพช่องปากที่ดีของประชากรในเขตเทศบาลตำบลห้วยยอดในอนาคต จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพปากในเด็กแรกเกิดจนถึง๕ปี ในเขตเทศบาลตำบลท่างิ้ว อ.ห้วยยอด จ.ตรัง ๒๕๖๔ เพื่อเป็นการกระตุ้นการดูเเลสุขภาพเด็กแรกเกิดถึง ๕ ปี รวมทั้งป้องกันการเกิดฟันผุลุกลามต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามผลการเกิดฟันผุในเด็กแรกเกิด
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรุ็และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กแรกเกิดถึง๕ปี
  3. เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุเบื้องต้นในเด็กอายุ ๙ เดือน ถึง๕ปี
  4. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามผลในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนระดับอนุบาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 167
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.อัตราการปราศจากฟันผุของเด็กปฐมวัยในเขตเทศบาลตำบลท่างิ้วเพิ่มสูงขึ้้นและผ่านการประเมินตามตัวชี้วัดระดับประเทศ ๒.เด็กปฐมวัยแปรงฟันได้ถูกวิธี สะอาดและเด็กปฐมวัยที่ตรวจพบมีฟันผุได้รับการรักษาตามความจำเป็น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามผลการเกิดฟันผุในเด็กแรกเกิด
    ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด ถึง๕ ปี ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยทันตบุคลากร ร่วมกับ อสม./นสค.
    0.00

     

    2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรุ็และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กแรกเกิดถึง๕ปี
    ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด ถึง๕ ปี ที่ได้เยี่ยมบ้านได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับการประเมินปัจจัยเสี่ยง อย่างน้อย ๑ ครั้ง
    0.00

     

    3 เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุเบื้องต้นในเด็กอายุ ๙ เดือน ถึง๕ปี
    ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด ถึง๕ ปี ที่ได้เยี่ยมบ้านได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับการประเมินปัจจัยเสี่ยง อย่างน้อย ๑ ครั้งเด็กอายุ ๙ เดือน ถึง ๕ ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช อย่างน้อย ๒ ครั้ง/ปี
    0.00

     

    4 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามผลในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนระดับอนุบาล
    ตัวชี้วัด : ๑.เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๑ แห่งและโรงเรียนระดับอนุบาล ๓ แห่งได้รับบริการป้องกันโรคฟันผุโดยการใช้ฟลูออไรด์วานิช ๒.เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๑ แห่งและโรงเรียนระดับอนุบาล ๓ แห่งได้รับการสาธิตการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่ถูกวิธีและตรวจความสะอาดของฟันของเด็กปฐมวัย ๓.เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๑ แห่งและโรงเรียนระดับอนุบาล ๓ แห่งได้รับบริการอุดฟันอย่างง่าย (SMART)
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 167
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 167
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามผลการเกิดฟันผุในเด็กแรกเกิด (2) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรุ็และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กแรกเกิดถึง๕ปี (3) เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุเบื้องต้นในเด็กอายุ ๙ เดือน ถึง๕ปี (4) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามผลในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนระดับอนุบาล

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กแรกเกิดจนถึง๕ปี ในเขตเทศบาลตำบลท่างิ้ว อ.ห้วยยอด จ.ตรัง จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 64-L1529-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประยงค์ ขวัญสิริดำรง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด