กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและยับยั้งโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ”

ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายนเรศ ดวงยอด

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและยับยั้งโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)

ที่อยู่ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 12/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและยับยั้งโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและยับยั้งโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและยับยั้งโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามที่กระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งสถานการณ์ทั่วโลก ข้อมูลตั้งแต่ 5 มกราคม 2563– 19 เมษายน 2564 พบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อจานวน 141,999,278.ราย เสียชีวิต 3,032,862. ราย ประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อ 43,742 ราย เสียชีวิต 104ราย ในส่วนของจังหวัดสงขลาพบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อระลอกแรกจำนวน 139ราย และระลอก2 จำนวน 236 ราย สะสมรวม 375 ราย สำหรับอำเภอสะบ้าย้อยยังไม่พบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อภายในอำเภอ มีเพียงผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อจากต่างอำเภอ และประเทศเพื่อนบ้านรวมจำนวน 5 ราย แต่สิ่งสำคัญของอำเภอสะบ้าย้อยที่จำเป็นต้องเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรณีบุคคลกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่ระบาดของโรคโควิด19 เข้ามาอย่างต่อเนื่อง มาจากต่างประเทศ 1,440 ราย มาจากจังหวัดทั้งพื้นที่เฝ้าระวังควบคุมสูงสุดเข้มงวด และพื้นที่เฝ้าระวังควบคุม จำนวน 118 ราย ประกอบกับการระบาดของโรคในรอบใหม่ที่มีความรุนแรงขยายกระจายเป็นวงกว้างครอบคลุมทุกจังหวัดทั่วประเทศ ซึ่งถือเป็นความเสี่ยงต่อการเกิดโรค แม้ทางจังหวัดสงขลามีคำสั่งประกาศคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดโดยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานลงนามในคำสั่งมาตรการเฝ้าระวังป้องกัน แต่ในทางปฏิบัติพบว่าประชาชนในพื้นที่บางส่วนทั้งในส่วนบุคคลสุ่มเสี่ยง และประชาชนทั่วไปยังไม่เห็นความสำคัญและให้ความร่วมมือ ถือเป็นปัจจัยและสภาวะเสี่ยงที่จะเกิดการสัมผัสแพร่เชื้อ เกิดการระบาดของโรคโควิด 19ขยายเป็นวงกว้างต่อไป (ข้อมูลจาก : ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 19 เมษายน 2564)
ในเขตพื้นที่ดูแลรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทัพหลวง พบว่ามีบุคคลกลุ่มเสี่ยงเดินทางเข้ามาอย่างต่อเนื่อง ในส่วนของการให้บริการประชาชนที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทัพหลวง ซึ่งทุกวันจะมีผู้มารับบริการหลากหลายทุกกลุ่มวัย เฉลี่ย 30 คน ต่อวัน จากสถานการณ์ปัจจุบันที่มีปัจจัยก่อให้เกิดความเสี่ยงนี้ ถือเป็นเรื่องจำเป็นเร่งด่วน ที่สำคัญ รพ.สต.ทัพหลวงในฐานะรับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข จึงต้องมีมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันมิให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง โดยมีแนวทางปรับระบบบริการเพื่อป้องกันการสัมผัสระหว่างกลุ่มผู้มารับบริการทั่วไป กับกลุ่ม หรือบุคคล ที่มารับบริการเกี่ยวกับโรคระบบทางเดินหายใจ บุคคลสุ่มเสี่ยง ตลอดถึงบุคคลสัมผัสใกล้ชิดบุคคลสุ่มเสี่ยง โดยเพิ่มการจัดตั้งจุดบริการเป็นคลินิกโรคระบบทางเดินหายใจ(ARI Clinic) ใช้เป็นช่องทางเฉพาะในกลุ่มบุคคลกลุ่มเสี่ยงดังกล่าว เพื่อป้องกัน หลีกเลี่ยงการสัมผัสและการแพร่กระจายเชื้อ ป้องกันการเกิดโรค และการระบาดของโรคโควิด19 ที่มีประสิทธิภาพ ทันต่อสภาวการณ์ ทั้งต่อผู้รับบริการตรวจรักษาโรค ประชาชนทั่วไป หรือผู้มาติดต่อราชการ รวมถึงบุคลากรด้านสาธารณสุขผู้ให้บริการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อมีระบบบริการของคลินิกโรคระบบทางเดินหายใจ (ARI Clinic) ในรพ.สต.ช่วยลดและหลีกเลี่ยงการสัมสัมผัสระหว่างบุคคลผู้มารับบริการทั่วไป กับ ผู้มารับบริการเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ บุคคลสุ่มเสี่ยง เกิดประสิทธิผลที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันการแพร่เชื้อ ยับยั้งการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลคูหา ตลอดจนบุคลากรสาธารณสุขผู้ให้บริการ อย่างทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มีระบบการให้บริการที่แยกส่วนของคลินิกโรคระบบทางเดินหายใจ กับ คลินิกบริการตรวจรักษาโรคทั่วไป ที่มีคุณภาพ
    2. ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้
    3. ประชาชนในพื้นที่ได้การป้องกันการติดเชื้อจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
    4. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อมีระบบบริการของคลินิกโรคระบบทางเดินหายใจ (ARI Clinic) ในรพ.สต.ช่วยลดและหลีกเลี่ยงการสัมสัมผัสระหว่างบุคคลผู้มารับบริการทั่วไป กับ ผู้มารับบริการเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ บุคคลสุ่มเสี่ยง เกิดประสิทธิผลที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันการแพร่เชื้อ ยับยั้งการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลคูหา ตลอดจนบุคลากรสาธารณสุขผู้ให้บริการ อย่างทันท่วงที
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อมีระบบบริการของคลินิกโรคระบบทางเดินหายใจ (ARI Clinic)  ในรพ.สต.ช่วยลดและหลีกเลี่ยงการสัมสัมผัสระหว่างบุคคลผู้มารับบริการทั่วไป กับ ผู้มารับบริการเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ บุคคลสุ่มเสี่ยง  เกิดประสิทธิผลที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันการแพร่เชื้อ ยับยั้งการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลคูหา ตลอดจนบุคลากรสาธารณสุขผู้ให้บริการ อย่างทันท่วงที

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังป้องกันและยับยั้งโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายนเรศ ดวงยอด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด