กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง


“ โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ”

พื้นที่ในเขตคลินิกหมอครอบครัวหนองกะจะ ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

หัวหน้าโครงการ
นายณรงค์ศักดิ์ บำรุงถิ่น

ชื่อโครงการ โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ พื้นที่ในเขตคลินิกหมอครอบครัวหนองกะจะ ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา จังหวัด นครราชสีมา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดนครราชสีมา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ในเขตคลินิกหมอครอบครัวหนองกะจะ ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ในเขตคลินิกหมอครอบครัวหนองกะจะ ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและถือว่าเป็น“ ภัยเงียบ” เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการและเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลาระบบของร่างกายเช่นตาไตเท้าและหลอดเลือดในประเทศไทยนั้นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงใน แต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมากเนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่องและยาวนานมีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมากการดูแลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนั้นไม่ได้ จำกัด อยู่เฉพาะโดยแพทย์เท่านั้น แต่ขึ้นอยู่กับการดูแลตนเองของผู้ป่วยและการตรวจป้องกันภาวะแทรกซ้อนนอกจากนี้ยังควรมีการติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้านเพื่อจะได้ทราบถึงปัญหาของการดูแลตนเองและร่วมหารือและแนะนำการแก้ไขปัญหาสุขภาพกับผู้ป่วยแต่ละรายซึ่งปัจจุบันผู้ป่วยที่มารับบริการดูแลรักษาโรคเรื้อรังดังกล่าวมีเป็นจำนวนมากขึ้นและเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกเขตพื้นที่จากการเปลี่ยนแปลงตามภาวะกระแสโลกทั้งในด้านเศรษฐกิจสังคมและการเมืองเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมส่งผลต่อสุขภาพอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ทำให้พฤติกรรมการดำเนินชีวิตเปลี่ยนไปเช่นพฤติกรรมการบริโภคมักนิยมบริโภคอาหารที่มีไขมันสูงโปรตีนสูงกากใยน้อยขาดการออกกำลังกายมีความเครียดสูงส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพเช่นโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขเป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วมและเสียชีวิตก่อนวัยอันควรซึ่งโรคนี้เป็นภัยเงียบที่รักษาไม่หายและยังทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนอื่น ๆ อีกมากมายเช่นโรคหัวใจโรคหลอดเลือดสมองสำหรับสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคดังกล่าวมักเกิดจากกรรมพันธุ์และพฤติกรรม” เพื่อการควบคุมโรคที่สมบูรณ์ผู้ป่วยและผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับความรู้เรื่องโรครวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการและการออกกำลังกายที่ถูกต้องพร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่างๆซึ่งถ้าปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตั้งแต่ระยะต้นก็จะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขเช่นคนปกติโดยปราศจากโรคแทรกซ้อนดังนั้นคลินิกหมอครอบครัวหนองกะจะได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าวและได้ให้ความสำคัญในการส่งเสริมป้องกันและควบคุมโรคโดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ที่ดีขึ้นจึงได้จัดทำโครงการเพื่อนช่วยเพื่อนดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ทักษะในการจัดการตนเองและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดการเกิดโรคเรื้อรังและภาวะแทรกซ้อนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถปฏิบัติตนในการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง ไม่มีภาวะแทรกซ้อนสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างปกติสุข
  2. 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมน้ำตาลนเลือดของผู้ป่วย
  3. 3. เพื่อมีการแลกเปลี่ยนความรู้แก่เครือข่ายเพื่อนช่วนเพื่อนในการไปช่วยดูแลกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. ติดตามกลุ่มที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้
  3. เพื่อนช่วยเพื่อนแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 210
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยเบาหวานผู้ป่วยความดันโลหิตสูงผู้ป่วยโรคไตมีความรู้ความเข้าใจและเกิดความตระหนักในเรื่องโภชนาการอาหารและการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคร้อยละ 100
  2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงสามารถคุมระดับน้ำตาลได้อยู่ในเกณฑ์ปกติร้อยละ 80
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงและโรคไตมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องร้อยละ 100
  4. มีกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถปฏิบัติตนในการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง ไม่มีภาวะแทรกซ้อนสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างปกติสุข
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานผู้ป่วยความดันโลหิตสูงผู้ป่วยโรคไตมีความรู้ความเข้าใจและเกิดความตระหนักในเรื่องโภชนาการอาหารและการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคร้อยละ 100
60.00 100.00

 

2 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมน้ำตาลนเลือดของผู้ป่วย
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงสามารถคุมระดับน้ำตาลได้อยู่ในเกณฑ์ปกติร้อยละ 80
50.00 80.00

 

3 3. เพื่อมีการแลกเปลี่ยนความรู้แก่เครือข่ายเพื่อนช่วนเพื่อนในการไปช่วยดูแลกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงและโรคไตมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องร้อยละ 90 2. มีกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน
60.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 210
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 210
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถปฏิบัติตนในการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง ไม่มีภาวะแทรกซ้อนสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างปกติสุข (2) 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมน้ำตาลนเลือดของผู้ป่วย (3) 3. เพื่อมีการแลกเปลี่ยนความรู้แก่เครือข่ายเพื่อนช่วนเพื่อนในการไปช่วยดูแลกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) ติดตามกลุ่มที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ (3) เพื่อนช่วยเพื่อนแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเพื่อนช่วยเพื่อนดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จังหวัด นครราชสีมา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณรงค์ศักดิ์ บำรุงถิ่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด