กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ เฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Corona disease 2019 (COVID-19)) ร.ร.ท.1 ประจำปีการศึกษา 2564 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายณรงค์ รัฐภูมิภักดิ์




ชื่อโครงการ เฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Corona disease 2019 (COVID-19)) ร.ร.ท.1 ประจำปีการศึกษา 2564

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7258-2-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 ธันวาคม 2564

กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Corona disease 2019 (COVID-19)) ร.ร.ท.1 ประจำปีการศึกษา 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Corona disease 2019 (COVID-19)) ร.ร.ท.1 ประจำปีการศึกษา 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Corona disease 2019 (COVID-19)) ร.ร.ท.1 ประจำปีการศึกษา 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2564 - 30 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 99,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) มีแนวโน้มการแพร่ระบาดที่เพิ่มมากขึ้น และประเทศไทยเข้าสู่การระบาดในระยะที่ ๓ องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้ การระบาดของโรคดังกล่าวเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข โดย คำแนะนำของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ จึงได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.๒๕๕๘ ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2563 ได้กำหนดมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันวิกฤตการณ์จาก โรคดังกล่าว ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทยด่วนที่สุด ที่ มท 0211.3/ 1538 เรื่อง การบริหารจัดการสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ในเขต พื้นที่จังหวัด สถานการณ์การแพร่ระบาดในประเทศไทย ประเทศไทยขณะนี้มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ระลอกที่ ๓ โดยมีคลัสเตอร์มาจากสถานบันเทิงในพื้นที่จังหวัดกรุงเทพ นครปฐม นนทบุรี ชลบุรี แพร่กระจายอย่างรวดเร็วไปใน 77 จังหวัด มีผู้ป่วยยืนยันสะสม 45,185 คน (นับจากวันที่ 1 เมษายน 2564 จนถึงวันที่ 20 เมษายน 2564) รักษาหายแล้ว 28,958 คน เสียชีวิต 108 คน ข้อมูลเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2564 (กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข) ข้อมูลจังหวัดสงขลา ณ วันที่ 20 เมษายน 2564 จำนวนผู้ป่วยยืนยันสะสม จำนวน 17,780 คน จำนวนผู้ปวยติดเชื้อในประเทศ จำนน 16 คน สำหรับพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ มีผู้เดินทางเข้ามาจากต่างประเทศ และในพื้นที่จากจังหวัดที่เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุด 18 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร นครปฐม สุพรรณรี ชลบุรี ระยอง ประจวบคีรีขันธ์ สระแก้ว ภูเก็ต สงขลา ตาก อุดรธานี ขอนแก่น เชียงใหม่ นครราชสีมา กรุงเทพมหานคร (เฉพาะเขตบางแค เขตวัฒนา เขตคลองเตย) เข้ามาในพื้นที่จังหวัดสงขลา จำเป็นต้องกักตัว 14 วัน (Home Quarantine) ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 พบว่าในเขตพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ มีจำนวนผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศและพื้นที่เสี่ยงโรค จำนวน 280 คน และมีจำนวนผู้ติดเชื้อยืนยัน จำนวน 88 ราย และมีผู้ติดเชื้อจากพื้นที่ข้างเคียงและเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวจับจ่ายใช้สอยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จำนวนไม่น้อยกว่า 10 ราย จากข้อมูล Time Line ของผู้ติดเชื้อและผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ติดเชื้อซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง กระจายในพื้นที่ที่สำคัญเป็นจำนวนมาก เริ่มพบผู้ติดเชื้อที่เกี่ยวพันกับที่พบผู้ติดเชื้อจากสถานบันเทิงในกรุงเพทมหานคร ได้เดินทางเข้าพื้นที่เขตเทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อมาประกอบกิจกรรมเนื่องในเทศกาลเชงเมังหรือไหวับรรพบุรุษ และใน เดือนเมษายน 2564 เป็นเดือนแห่งเทศกาลสงกรานต์ วันครอบครัวและวันผู้สูงอายุที่ประชาชนต่างทยอยเตินทางกลับ ภูมิลำเนาและเดินทางเพื่อการท่องเที่ยว เนื่องพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่เป็นพื้นที่ผ่านธุรกิจการค้า และการท่องเที่ยวที่ สำคัญของจังหวัดสงขลา และเป็นย่านที่มีสถานบันเทิงที่มีชื่อเสียงของอำเภอหาดใหญ่ จึงทำให้เกิดคลัสเตอร์ใหม่ที่พบผู้ ติดเชื้อจำนวนมาก จำนวน 80 ราย จากสถานบันเทิงในเขตเทศบาลนรหาดใหญ่ 5 แห่ง และนอกเขตเทศบาลนคร หาดใหญ่ จำนวน 1 แห่ง ที่เกี่ยวโยงกันและมีผู้สัมผัสใกล้ชิดมากกว่า 700 คน ประกอบกับรัฐบาลมี 1) ประกาศ เรื่อง การขยายระยะเวลาการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร (คราวที่ 11 ) ลงวันที่ 30 มีนาคม 2564 ขยายระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564 จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2564 เพื่อดำเนินการมาตรการควบคุม ยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ 2) คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา ได้มีคำสั่งฯ ที่ 13/256 ลงวันที่ 7 มษายน 2564 เรื่อง ให้ประซาชนในพื้นที่จังหวัดสงขลา สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าทุกครั้งเมื่อออกจากความจำเป็นเหมาะสมและประหยัด 3) หนังสือด่วนที่สุดที่ มท 0808.2/21727 ลงวันที่ 21 มีนาคม 2563 เรื่องซักซ้อมแนวทางปฏิบัติการใช้จ่าย งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ กรณีโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 หรือโรคโควิด- 19 4) ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 79 วรรคสอง การซื้อหรือจ้างตามวรรคหนึ่ง ในกรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วนที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ คาดหมายไว้ก่อน และไม่อาจดำเนินการตามปกติได้ทัน ให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงานนั้น ดำเนินการไปก่อนแล้วรีบรายงานขอความเห็นชอบต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ และเมื่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ถือว่ารายงานดังกล่าวเป็นหลักฐานการตรวจรับโดยอนุโลม 5) ประกาศคณะกรรมการ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นดำเนินงานและการ บริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ 3) w.ศ.2563 6) หนังสือด่วนที่สุดที่ มท 0808.2/ว 2120 ลงวันที่ 9 เมษายน 2563 เรื่องซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายงบประมาณขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นเพื่อช่วยเหลือประชาชน กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด-19 สำหรับในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนเทศบาล ๑ (เอ็งเสียงสามัคคี) มีนักเรียนตั้งแต่ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 จำนวน 2,303 คน ซึ่งโรงเรียนมีอาคารเรียน 8 หลัง อาคาร ประกอบ 2 หลัง อาคารอเนกประสงค์ 2 หลัง สนามฟุตบอล เป็นพื้นที่ใช้สอยที่ค่อนข้างจะคับแคบเมื่อเทียบกับ จำนวนนักเรียน คณะครู และบุคลากร รวมกัน ทำให้ไม่สามารถดำเนินการตามมาตรการการเว้นระยะห่างระยะ ประมาณ 2 เมตรได้ ดังนั้นโรงเรียนเทศบาล ๑ (เอ็งเสียงสามัคคี) จึงต้องมีความจำเป็นที่มีมาตรการป้องกัน ดำเนินการป้องกันการเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน 2019 (Coronavius Disease 2019 (COVD- 1 9) ให้กับนักเรียน ครู และผู้ปกครอง ในช่วงเปิดภาคเรียนปีการศึกษา 2564 และโรงเรียนได้มี มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 โดยมีมาตรการคัดกรอง นักเรียน ครู บุคลากร และผู้มา ติดต่อราชการทุกคน เช่น การตรวจวัดอุณหภูมิบริเวณทางเข้าประตู 2 ประตู 3 ประตู 4 หน้าห้องสำนักงานทาง ขึ้นติดต่อราชการฝ่ายต่าง ๆ มีมาตรการให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครู บุคลากร และผู้มาติดต่อราชการสวมใส่ หน้ากากอนามัยก่อนเข้ามาในโรงเรียน และตลอดเวลาเมื่ออยู่ในโรงเรียน ขอข้อมูลผู้ปกครองและนักเรียน ครู และบุคลากรให้ประวัติ เมื่อมีความเสี่ยงหรือไม่สบายจะต้องหยุดเรียนทันที หรือครูและบุคลากรต้องหยุดงาน และแจ้งหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ทราบ มีมาตรการจัดให้มีจุดล้างมือด้วยสบู่เหลวหรือแอลกอฮอล์เจลอย่าง เพียงพอ มีมาตรการในการเว้นระยะห่างในห้องเรียน เน้นการทำความสะอาดพื้นผิวสัมผัสต่างๆ ที่ใช้ร่วมกัน อาทิ ลูกบิดประตู ราวบันได ห้องน้ำ ห้องประชุม เป็นต้น ร่วมกับการจัดกลุ่ม สลับกันใช้งานเพื่อลดการสัมผัส ร่วมกันจำนวนมากลดวามแออัด ไม่จัดกิจกรรมที่เกิดการรวมกลุ่มของนักเรียน มีการเผยแพร่ข้อมูลและให้ ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคโควิด-19 แก่นักเรียน ครูและบุคลากร และผู้ปกครองนักเรียนและขอความร่วมมือ กับผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมกับโรงเรียนในการป้องกันโรค และการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ โรค ข้อมูล : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข โรงเรียนได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของนักเรียน พนักงานครู บุคลากร และผู้ปกครองของ โรงเรียนเป็นสำคัญ จึงต้องมีมาตรการดำเนินการเฝ้าระวัง ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVD-19) ให้ทันต่อสถานการณ์ ลดผลกระทบต่อสุขภาพชองนักเรียน พนักงานครู บุคลากร และผู้ปกครอง ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนเทศบาล ๑ (เอ็งเสียงสามัคคี)
  2. เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณเพียงพอต่อการ สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19))

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavius Disease 2019 (COVID-19) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดการแพร่ระบาดของโรคติดไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)
  2. ประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ สามารถป้องกันโรคติดเชื้อจากไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้
  3. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน และมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนเทศบาล ๑ (เอ็งเสียงสามัคคี)
ตัวชี้วัด : มีการป้องกันการระบาดของโรคในพื้นที่จุดเสี่ยง ในโรงเรียนเทศบาล ๑ (เอ็งเสียงสามัคคี) อย่างมีประสิทธิภาพ
0.00

 

2 เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณเพียงพอต่อการ สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19))
ตัวชี้วัด : การควบคุมการแพร่ระบาดของโรคมีประสิทธิภาพครอบคลุมทุกพื้นที่ในโรงเรียน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนเทศบาล ๑ (เอ็งเสียงสามัคคี) (2) เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณเพียงพอต่อการ สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19))

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavius Disease 2019 (COVID-19) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Corona disease 2019 (COVID-19)) ร.ร.ท.1 ประจำปีการศึกษา 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7258-2-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณรงค์ รัฐภูมิภักดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด