กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในตลาดและสถานประกอบการ ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวบิสณี เด่นดารา

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในตลาดและสถานประกอบการ

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-64-5-9 เลขที่ข้อตกลง ............/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในตลาดและสถานประกอบการ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในตลาดและสถานประกอบการ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในตลาดและสถานประกอบการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-64-5-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย
เป็นระลอกที่ 3 ขณะนี้พบผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สะสม จำนวน 68,984 ราย รักษาหายและแพทย์ให้กลับบ้าน 39,481 ราย ผู้ป่วยยืนยันที่เสียชีวิตสะสม 245 ราย ยังคงรักษาตัว จำนวน 29,481 ราย (ข้อมูลจาก : รายงานข่าวกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ศูนย์ปฏิบัติการด้านข่าว โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 2 พฤษภาคม 2564)
จากข้อมูลการรายงานเห็นได้ว่าสถานการณ์การระบาดในประเทศยังคงมีความจำเป็นต้องเฝ้าระวังและดำเนินการอย่างต่อเนื่องตามหลักการควบคุมป้องกันโรคที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ดังนั้น การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องสร้างความรู้ ความตระหนักใน การปฏิบัติตนอย่างถูกต้อง เช่น การเว้นระยะห่างทางสังคม การสวมและใช้หน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี
การใช้สบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ในการล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อโรคที่อาจมาจากกการสัมผัส การทำความสะอาดพื้นที่การให้บริการหรือพื้นที่ที่มีคนอยู่รวมกันและทำกิจกรรมร่วมกันเป็นระยะเวลานาน โดยมีกระบวนการให้ความรู้ คำแนะนำต่อกลุ่มเป้าหมาย การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ ได้แก่ ตลาด ห้างสรรพสินค้า และสถานประกอบการต่าง ๆ
ทั้งนี้ ตลาดสด เป็นแหล่งรวมตัวของพ่อค้า แม่ค้าและผู้ซื้อ และยังเป็นพื้นที่สาธารณะ ที่มีคนมาจากหลากหลายพื้นที่ และมีบริเวณใช้งานร่วมกัน นอกจากนี้ ยังมีสถานประกอบการต่าง ๆ ในพื้นที่ที่เป็นแหล่งจำหน่วยสินค้า อาหารปรุงสำเร็จ อาหารสด อาหารแห้ง และสถานบริการต่าง ๆ ซึ่งมีคนมาจากหลากหลายพื้นที่ และมีบริเวณใช้งานร่วมกัน ดังนั้น ตลาดและสถานประกอบการจึงอาจเป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรคได้ ตลาดและสถานประกอบการในเขตเทศบาลตำบลคลองขุด จึงต้องมีมาตรการการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับพ่อค้า แม่ค้าและผู้ซื้อ รวมถึงประชาชนในเขตพื้นที่
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคลองขุด จึงเห็นควรให้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในตลาดและสถานประกอบการ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรค และเป็นการจัดกระบวนการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ซึ่งมีความเสี่ยงสูงในการระบาดรอบที่ 3 หากไม่มีการป้องกันอย่างเข้มข้นและทันท่วงที

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
  2. กิจกรรมทำความสะอาด big cleaning day ในตลาด จำนวน 5 แห่ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ตลาดและสถานประกอบการมีมาตรการในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) เพื่อให้พ่อค้า แม่ค้า ผู้ซื้อ และประชาชนทั่วไป ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทั้งยังลดความตระหนักของพ่อค้า แม่ค้า ผู้ซื้อ และประชาชนทั่วไป และยังสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรคได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

วันที่ 20 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นตอนวางแผนงาน

- ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและ รูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ - แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ - ติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันดำเนินงาน 2.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบล  คลองขุด 3.ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2. กำหนดมาตรการและดำเนินการจัดการด้านสุขอนามัยในตลาดสด กิจกรรมที่ 1 รณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 1.1 ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ เครือข่ายต่าง ๆ และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนรณรงค์ในตลาด จำนวน 5 แห่งๆ ละ 1 ครั้ง 1.2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคฯ ในตลาด จำนวน 5 แห่ง 1.3 ประชาสัมพันธ์ในสถานประกอบการ เกี่ยวกับการปฏิบัติเพื่อป้องกันตนเองและปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคฯ เช่น มาตรการ D-M-H-T-T-A สวมหน้ากากอนามัย การจัดการขยะ การสวมหน้ากากที่ถูกวิธี และขั้นตอนการล้างมือที่ถูกต้อง 1.4 จัดให้มีที่ล้างมือ น้ำและสบู่สำหรับล้างมือ หรือเจลแอลกอฮอล์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. พ่อค้า แม่ค้า ผู้ซื้อ และประชาชนทั่วไป มีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างถูกต้อง
  2. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

 

0 0

2. กิจกรรมทำความสะอาด big cleaning day ในตลาด จำนวน 5 แห่ง

วันที่ 20 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

2.1 ประชุมชี้แจงเจ้าของตลาด ผู้ค้าในตลาด เจ้าหน้าที่ และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนทำความสะอาด big cleaning day ในตลาด จำนวน 5 แห่งๆ ละ 1 ครั้ง 2.2 ทำความสะอาดบริเวณพื้น ทางเดิน แผงจำหน่ายสินค้า ด้วยน้ำยาผงซักฟอก หรือน้ำยาทำความสะอาด และฆ่าเชื้อ ด้วยคลอรีนเข้มข้น 100 และ 500 มิลลิกรัมต่อลิตร 2.3 ทำความสะอาดห้องน้ำ ห้องส้วมที่ใช้ในตลาด เน้นบริเวณจุดเสี่ยง เช่น ที่จับสายฉีดชำระ ที่รองนั่งโถส้วม ที่กดโถส้วม โถปัสสาวะ ที่เปิดก๊อก อ่างล้างมือ กลอนประตูหรือลูกบิด โดยใช้น้ำยาทำความสะอาด และฆ่าเชื้อ ด้วยคลอรีนเข้มข้น 100 มิลลิกรัมต่อลิตร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตลาดและสถานประกอบการมีมาตรการในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) เพื่อให้พ่อค้า แม่ค้า ผู้ซื้อ และประชาชนทั่วไป ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทั้งยังลดความตระหนักของพ่อค้า แม่ค้า ผู้ซื้อ และประชาชนทั่วไป และยังสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรคได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคลองขุด ได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในตลาดและสถานประกอบการ ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในตลาดและสถานประกอบการ 2. กิจกรรมทำความสะอาด big cleaning day ในตลาด 5 แห่ง

โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการดูแลป้องกันและลดการแพร่กระจายของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในตลาดและสถานประกอบการ ระหว่างพ่อค้า แม่ค้า และผู้ซื้อ รวมถึงประชาชนในเขตพื้นที่ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด/ทำความสะอาดตลาด จำนวน 191 คน และได้รับความรู้/มาตรการป้องกันโรคโควิด-19 และสนับสนุนคลอรีนฆ่าเชื้อโรคในสถานประกอบการจำหน่ายอาหาร จำนวน 120 คน
จากการติดตามผลหลังการรณรงค์ พบว่า ตลาดและสถานประกอบการมีการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานประกอบการ โดยการจัดให้มีเจลล์ล้างมือบริเวณทางเข้า-ออกตลาด การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าในตลาดของผู้ค้าและผู้ซื้อ มีป้ายประชาสัมพันธ์มาตรการป้องกันโรคโควิด-19 (D-M-H-T-T-A) ในตลาด ซึ่งส่งผลให้สามารถป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในตลาดได้ จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม จำนวน 311 คน ดังนี้ - ตลาดนัดซอยทรายทอง จำนวน 37 คน - ตลาดนัดบีบี จำนวน 40 คน - ตลาดนัดธานินทร์ จำนวน 40 คน - ตลาดตั้งจิตต์ศิล จำนวน 37 คน - ตลาดนัดช่อง 5 จำนวน 37 คน - ผู้ประกอบกิจการจำหน่ายอาหาร จำนวน 120 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19
80.00 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20000 20000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20,000 20,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (2) กิจกรรมทำความสะอาด big cleaning day ในตลาด จำนวน 5 แห่ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในตลาดและสถานประกอบการ

รหัสโครงการ L5300-64-5-9 รหัสสัญญา ............/2564 ระยะเวลาโครงการ 20 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

กำหนดมาตรการและดำเนินการจัดการด้านสุขอนามัยในตลาดสด

 

ให้ผู้ประกอบการตลาดและผู้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหารปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัดและต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

ป้ายประชาสัมพันธ์มาตรการป้องกันโรคโควิด-19 (D-M-H-T-T-A) ในตลาด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

1.ทำความสะอาดบริเวณพื้น ทางเดิน แผงจำหน่ายสินค้า ด้วยน้ำยาผงซักฟอก หรือน้ำยาทำความสะอาด และฆ่าเชื้อ ด้วยคลอรีนเข้มข้น 100 และ 500 มิลลิกรัมต่อลิตร 2. ทำความสะอาดห้องน้ำ ห้องส้วมที่ใช้ในตลาด เน้นบริเวณจุดเสี่ยง เช่น ที่จับสายฉีดชำระ ที่รองนั่งโถส้วม ที่กดโถส้วม โถปัสสาวะ ที่เปิดก๊อก อ่างล้างมือ กลอนประตูหรือลูกบิด โดยใช้น้ำยาทำความสะอาด และฆ่าเชื้อ ด้วยคลอรีนเข้มข้น 100 มิลลิกรัมต่อลิตร

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มาตรการป้องกันโรคโควิด-19 (D-M-H-T-T-A)

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

มาตรการป้องกันโรคโควิด-19 (D-M-H-T-T-A)

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

1.ทำความสะอาดบริเวณพื้น ทางเดิน แผงจำหน่ายสินค้า ด้วยน้ำยาผงซักฟอก หรือน้ำยาทำความสะอาด และฆ่าเชื้อ ด้วยคลอรีนเข้มข้น 100 และ 500 มิลลิกรัมต่อลิตร 2.ทำความสะอาดห้องน้ำ ห้องส้วมที่ใช้ในตลาด เน้นบริเวณจุดเสี่ยง เช่น ที่จับสายฉีดชำระ ที่รองนั่งโถส้วม ที่กดโถส้วม โถปัสสาวะ ที่เปิดก๊อก อ่างล้างมือ กลอนประตูหรือลูกบิด โดยใช้น้ำยาทำความสะอาด และฆ่าเชื้อ ด้วยคลอรีนเข้มข้น 100 มิลลิกรัมต่อลิตร

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

มาตรการป้องกันโรคโควิด-19 (D-M-H-T-T-A) ในตลาด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

ทำความสะอาด big cleaning day ในตลาด โดยผู้ประกอบการตลาด พ่อค้า แม่ค้า และพนักงานเทศบาล

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในตลาดและสถานประกอบการ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-64-5-9

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวบิสณี เด่นดารา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด