กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางรอซีดา แหล่ทองคำ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-64-5-11 เลขที่ข้อตกลง ......../2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-64-5-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,104.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019” ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลันปอดอักเสบ และมีภาวะแทรกซ้อนที่ทำให้เสียชีวิต ประเทศไทยได้มีการระบาดของโรคนี้เป็นวงกว้างในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - เดือนมิถุนายน 2563 และเริ่มควบคุมได้ โดยไม่พบผู้ติดเชื้อภายในประเทศจนกระทั่งเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2563 ได้พบการระบาดระลอกใหม่ ในจังหวัดสมุทรสาคร และกระจายไปในพื้นที่หลายจังหวัด ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์ Covid-19 ในประเทศไทยของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินกระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2563 มีผู้ป่วยยืนยันสะสม 6,020 ราย โดยพบผู้ติดเชื้อภายในประเทศ และได้เพิ่มขึ้นจากเดิมอย่างรวดเร็ว และในส่วนประชาชนผู้เดินทางกลับมาจากต่างจังหวัดตั้งแต่ปลายเดือนมีนาคม-พฤษภาคม 2564 เข้ามาในพื้นที่ตำบลคลองขุด มียอดรวมสะสมจำนวน 78 ราย และมารายงานตัวเพื่อกักตัวสังเกตอาการที่บ้าน 14 วัน ( Home Quarantine ) และกักตัวครบ 14 วัน จำนวน16ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2564 ) จากสถานการณ์ข้างต้น เพื่อการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญ คือ การให้องค์ความรู้ การสร้างสภาพแวดล้อมในชุมชน การสร้างมาตรการกับร้านค้า การเว้นระยะห่างทางสังคม การสนับสนุนการกักตัว และจัดให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเข้าไปดูแลวัดอุณหภูมิและส่งเสริมการป้องกันตนเองไม่ให้สัมผัสกับโรค โดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมีมลภาวะ และไม่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย การปฏิบัติตนเองอย่างเคร่งครัดในการป้องกันโรค การเฝ้าระวัง การคัดกรองผู้ที่มารับบริการหรือประชาชน เป็นสิ่งสำคัญรวมทั้งเน้นย้ำตามมาตรการ โดยใช้หลัก D-M-H-T-T ในการป้องกันอย่างถูกต้อง
ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด จึงดำเนินการจัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ 2564 เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง และอยู่บนหลักการการมีส่วนร่วมของชุมชน ซึ่งนอกจากมุ่งส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแล้ว ยังรวมถึงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ/การใช้แอปติดตาม ให้แก่อสม.ในการดูแลเฝ้าระวังป้องกัน เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชน
  2. ประชุมวางแผนรณรงค์เคาะประตูบ้าน/ติดตาม ดูแล เฝ้าระวังผู้ที่เดินทางกลับเข้ามาในพื้นที่ตำบลคลองขุด (หมู่ที่1,2,5,6)
  3. ประชุมสรุปรายงานติดตามการเฝ้าระวังและสถานการณ์ ผู้ที่เดินทางกลับเข้ามาในพื้นที่ตำบลคลองขุด หมู่ที่1,2,5,6
  4. กิจกรรมคัดกรอง เฝ้าระวัง ดูแล ติดตามสังเกตอาการ ประชาชนที่เดินทางกลับมาในพื้นที่ และมารายงานตัว ณ สถานบริการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง และสามารถป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2.ประชาชนเกิดความตระหนัก เห็นความสำคัญและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเองและร่วมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19) รวมถึงการมารายงานตัวเพื่อกักตัวสังเกตอาการที่บ้าน 14 วัน(Home Quarantine) ในผู้ที่เดินทางกลับเข้ามาในพื้นที่ต.คลองขุด( หมู่ที่1,2,5,6)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมตามโครงการได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
90.00 97.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ/การใช้แอปติดตาม ให้แก่อสม.ในการดูแลเฝ้าระวังป้องกัน เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชน (2) ประชุมวางแผนรณรงค์เคาะประตูบ้าน/ติดตาม ดูแล เฝ้าระวังผู้ที่เดินทางกลับเข้ามาในพื้นที่ตำบลคลองขุด (หมู่ที่1,2,5,6) (3) ประชุมสรุปรายงานติดตามการเฝ้าระวังและสถานการณ์ ผู้ที่เดินทางกลับเข้ามาในพื้นที่ตำบลคลองขุด หมู่ที่1,2,5,6 (4) กิจกรรมคัดกรอง เฝ้าระวัง ดูแล ติดตามสังเกตอาการ ประชาชนที่เดินทางกลับมาในพื้นที่ และมารายงานตัว ณ สถานบริการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-64-5-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอซีดา แหล่ทองคำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด