กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง


“ โครงการบูรณาการสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย สมส่วน ฟันดี วัคซีนครบ (SMART KIDS)ตำบลปิยามุมัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ”

ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสารอมูหะมะสาเล็ม

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย สมส่วน ฟันดี วัคซีนครบ (SMART KIDS)ตำบลปิยามุมัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๐

ที่อยู่ ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3045-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 สิงหาคม 2560 ถึง 30 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย สมส่วน ฟันดี วัคซีนครบ (SMART KIDS)ตำบลปิยามุมัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย สมส่วน ฟันดี วัคซีนครบ (SMART KIDS)ตำบลปิยามุมัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๐



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบูรณาการสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย สมส่วน ฟันดี วัคซีนครบ (SMART KIDS)ตำบลปิยามุมัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3045-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 สิงหาคม 2560 - 30 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ซึ่งการดูแลสุขภาพเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะทำให้มีสุขภาพดี ไม่ว่าจะเป็นการกินอาหารถูกต้อง เหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการที่ดี และนำไปสู่การมีสุขภาพดีมีพัฒนาการที่สมวัย กาดูแลสุขภาพไม่ให้ผุรวมทั้งการได้รับภูมิคุ้มกันด้านต่างๆล้วนเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียน ๐-๕ ปี เป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่สำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ ๒ ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีคามสำคัญต่อการเจริญเติบโตพัฒนาขอเด็กวัยก่อนเรียน ปัญหาสุขภาพทางด้านสุขภาพที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวการณ์เจริญเติบโตไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง อีกทั้งไม่ตระหนักเท่าที่ควร
จากการประเมินผลสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียน (๐-๕ ปี) จากเด็กทั้งหมด ๓๓๓ คน จะพบว่าพื้นที่เขตตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ในช่วงไตรมาส ๑/๒๕๕๙ ที่ผ่านมา มีโภชนาการบกพร่อง ๘๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๕.๒๒ เด็กมีสุขภาพฟันผุ จำนวน ๒๔๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๒๗ (เกณฑ์ไม่เกิน ๕๐ %) เด็กไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ จำนวน ๓๗ คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๗๑ (เกณฑ์ได้รับ ๙๐ %) ซึ่งในอนาคตมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพในเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย สมส่วน ฟันดี วัคซีนครบ (SMART KIDS) ปี ๒๕๖๐

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อให้ร้อยละ ๑๐๐ ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๕ ปี มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันของเด็ก
  2. 2.เพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุร้อยละ ๙๐
  3. ๓.เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กตะหนักถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กทั้ง ๕ ด้านและได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามกลุ่มอายุ ๙, ๑๘, ๓๐ และ ๔๒ เดือนครบทุกคน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๕ ปี มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันของเด็ก ๒.เด็ก ๐-๕ ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยทันตบุคลากร ๓.เด็ก ๐-๕ ปี มีสุขภาพช่องปากที่ดี ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ๔.เด็ก ๐-๕ ปี ได้รับฟลูออไรด์วานิชเฉพาะที่ เพื่อป้องกันฟันผุ ๕.เด็ก ๐-๕ ปี มีอัตราฟันผุน้อยลง ๖.เด็กตำบลปิยามุมังได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐาน ร้อยละ ๙๐ ๗.เด็กที่ขาดวัคซีนได้รับการเยี่ยมบ้าน/ติดตาม ๘.เด็ก ๐-๕ ปี มีภาวะโภชนาการสมส่วน ๙.เด็ก ๐-๕ ปี มีผลคัดกรองพัฒนาการสมวัยทั้ง ๕ ด้าน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    วิธีดำเนินการ ๑.ประชุมชี้แจงร่วมกันชมรมอาสาสมัคร ผู้นำชุมชน เพื่อจัดทำโครงการขออนุมัติ แก่กองทุนสุขภาพตำบล ๒.สำรวจเด็ก ๐-๕ ปี โดยพี่เลี้ยงอสม.แต่ละแวกรับผิดชอบเพื่อดูระวัติการได้รับการตรวจช่องปาก การได้รับฟลูออไรด์วานิช และการได้รับวัคซีน ๓.รวบรวมและจัดทำทะเบียนสุขภาพในช่องปาก ประวัติวัคซีน ข้อมูลโภชนาการ และพัฒนาการ
    ๔.ประชาสัมพันธ์โครงการ ๕.ลงพื้นที่เพื่อปฏิบัติการตรวจช่องปากและทาฟลูออไรด์เฉพาะที่เชิงรุกให้แก่เด็กในกลุ่มเป้าหมาย พร้อมทั้งติดตามวัคซีน ตรวจพัฒนาการ และโภชนาการ ๖.ติดตามเด็กในกลุ่มเป้าหมาย โดยพี่เลี้ยงอสม.ทุกๆ ๓ เดือน ๗.พี่เลี้ยงอสม.ผู้รับผิดชอบละแวกติดตาม พร้องซักถามปัญหาอุปสรรค ๘.อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องทันตสุขศึกษา ฝึกผู้ปกครองแปรงฟันให้เด็ก เรื่องวัคซีน โภชนาการ และพัฒนาการสมวัย ๙.จัดเวทีแลกเปลี่ยน ในแต่ละหมู่เพื่อรับทราบปัญหาอุปสรรค ตลอดจนหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน โดยร่วมกับผู้นำชุมชน

    ผลที่ได้รับ       ๑.ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๕ ปี มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันของเด็ก

    ตารางที่1 แสดงจำนวน และร้อยละของผู้เข้าอบรมที่ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-5 ปี ในแต่ละข้อก่อนเข้าอบรม จำนวน80 คน                                       ข้อความ                                                                                         N=80                                                                                                                         เห็นด้วย               ไม่เห็นด้วย                                                                                                               จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 1.การที่เด็กหลับโดยมีขวดนมค้างอยู่ในช่องปาก ไม่มีผลเสียต่อเด็ก                                   48           60           32           40 2.การที่เด็กเลิกดื่มนมจากขวดช้า มีผลต่อการเกิดฟันผุอย่างมาก                                   27         33.75     53         66.25 3.การที่เด็กมีฟันน้ำนมผุเป็นเรื่องปกติ                                                                           47         58.75     33        41.25 4.ไม่ว่าท่านพยายามอย่างไร ลูกก็มีโอกาสฟันผุอยู่แล้ว                                                   45         56.25     35         43.75 5.การทำความสะอาดช่องปากเด็ก ควรเริ่มตั้งแต่ฟันยังไม่ขึ้น                                           29         36.25     51          63.75 6.เราจำเป็นต้องเช็ดฟัน/แปรงฟันก่อนนอนให้เด็กทุกวัน                                                   45         56.25     35  43.75 7.เราควรเติมน้ำตาล หรือน้ำหวานในอาหารที่ให้เด็กกิน เพื่อจะให้ทานได้มากขึ้น                   52         65             28 35 8.ควรใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ แปรงฟันให้เด็ก                                                           37       46.25             43  53.75 9.เมื่อมีฟันน้ำนมผุ จำเป็นต้องรักษา เช่นเดียวกับฟันแท้                                                   31       38.75             49         61.25 10.ควรแปรงฟันให้เด็กอย่างน้อยวันละ2ครั้ง                                                                   32       40             48         60   จากตารางที่1    จะเห็นได้ว่าข้อที่ผู้อบรมตอบเห็นด้วยมากที่สุด คือข้อ7 เราควรเติมน้ำตาล หรือน้ำหวานในอาหารที่ให้เด็กกิน เพื่อจะให้ทานได้มากขึ้น จำนวน52คน คิดเป็นร้อยละ65 รองลงมาคือ ข้อ1 การที่เด็กหลับโดยมีขวดนมค้างอยู่ในช่องปาก ไม่มีผลเสียต่อเด็ก  จำนวน48คน คิดเป็นร้อยละ60 ส่วนที่ตอบเห็นด้วยน้อยที่สุด คือข้อ2 การที่เด็กเลิกดื่มนมจากขวดช้า มีผลต่อการเกิดฟันผุอย่างมาก จำนวน27คน คิดเป็นร้อยละ33.75 และจำนวนที่ผู้เข้าอบรมตอบไม่เห็นด้วย มากที่สุด คือข้อ2 การที่เด็กเลิกดื่มนมจากขวดช้า มีผลต่อการเกิดฟันผุอย่างมาก จำนวน53คน คิดเป็นร้อยละ66.25 รองลงมาคือ ข้อ5 การทำความสะอาดช่องปากเด็ก ควรเริ่มตั้งแต่ฟันยังไม่ขึ้น จำนวน51คน คิดเป็นร้อยละ63.75  ส่วนที่ตอบไม่เห็นด้วยน้อยที่สุด คือข้อ7 เราควรเติมน้ำตาล หรือน้ำหวานในอาหารที่ให้เด็กกิน เพื่อจะให้ทานได้มากขึ้น จำนวน28คน คิดเป็นร้อยละ35

      ตารางที่2    แสดงจำนวน และร้อยละของผู้เข้าอบรมที่ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-5 ปี ในแต่ละข้อหลังเข้าอบรม จำนวน80 คน                             ข้อความ                                                                               N=80                                                                                                       เห็นด้วย                 ไม่เห็นด้วย                                                                                                   จำนวน ร้อยละ   จำนวน   ร้อยละ 1.การที่เด็กหลับโดยมีขวดนมค้างอยู่ในช่องปาก ไม่มีผลเสียต่อเด็ก                     12   15             68            85 2.การที่เด็กเลิกดื่มนมจากขวดช้า มีผลต่อการเกิดฟันผุอย่างมาก                     69 36.25     11     63.75 3.การที่เด็กมีฟันน้ำนมผุเป็นเรื่องปกติ                                                               9 11.25     71     88.75 4.ไม่ว่าท่านพยายามอย่างไร ลูกก็มีโอกาสฟันผุอยู่แล้ว                                     13 16.25     67     83.75 5.การทำความสะอาดช่องปากเด็ก ควรเริ่มตั้งแต่ฟันยังไม่ขึ้น                             73 91.25       7     8.75 6.เราจำเป็นต้องเช็ดฟัน/แปรงฟันก่อนนอนให้เด็กทุกวัน                                     71 88.75       9     11.25 7.เราควรเติมน้ำตาล หรือน้ำหวานในอาหารที่ให้เด็กกิน เพื่อจะให้ทานได้มากขึ้น     15         18.75     65     81.25 8.ควรใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ แปรงฟันให้เด็ก                                             78 97.5               2       2.5 9.เมื่อมีฟันน้ำนมผุ จำเป็นต้องรักษา เช่นเดียวกับฟันแท้                                     62 77.5             8             22.5 10.ควรแปรงฟันให้เด็กอย่างน้อยวันละ2ครั้ง                                                     77         96.25     3               3.75

    จากตารางที่2    จะเห็นได้ว่าข้อที่ผู้อบรมตอบเห็นด้วยมากที่สุด คือข้อ8 ควรใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ แปรงฟันให้เด็ก จำนวน78คน คิดเป็นร้อยละ97.5 รองลงมาคือ ข้อ10 ควรแปรงฟันให้เด็กอย่างน้อยวันละ2ครั้ง จำนวน77คน คิดเป็นร้อยละ96.25 ส่วนที่ตอบเห็นด้วยน้อยที่สุด คือข้อ3 การที่เด็กมีฟันน้ำนมผุเป็นเรื่องปกติ จำนวน9คน คิดเป็นร้อยละ11.25  และจำนวนที่ผู้เข้าอบรมตอบไม่เห็นด้วย มากที่สุด คือข้อ3 การที่เด็กมีฟันน้ำนมผุเป็นเรื่องปกติ จำนวน71คน คิดเป็นร้อยละ88.75 รองลงมาคือ ข้อ1 การที่เด็กหลับโดยมีขวดนมค้างอยู่ในช่องปาก ไม่มีผลเสียต่อเด็ก จำนวน68คน คิดเป็นร้อยละ85  ส่วนที่ตอบไม่เห็นด้วยน้อยที่สุด คือข้อ8 ควรใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ แปรงฟันให้เด็ก จำนวน2คน คิดเป็นร้อยละ2.5
    การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นแบบสอบถามวัดความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก0-5ปี โดยเป็นแบบสอบถามชนิดเลือกตอบ2ตัวเลือก คือ เห็นด้วย และไม่เห็นด้วย จำนวน10ข้อ ซึ่งมีข้อความที่ตอบข้อเห็นด้วย เป็นคำตอบที่ถูกต้อง จำนวน6ข้อ คือ ข้อ2, 5, 6, 8, 9 และข้อ10 และมีข้อความที่ตอบข้อไม่เห็นด้วย เป็นคำตอบที่ถูกต้อง จำนวน4ข้อ คือ ข้อ1, 3, 4 และข้อ7 โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนนแบ่งเป็น 4 ระดับ ตอบถูก9-10ข้อ แสดงว่ามีความรู้อยู่ในระดับดีมาก ตอบถูก7-8ข้อ แสดงว่ามีความรู้อยู่ในระดับดี ตอบถูก5-6ข้อ แสดงว่ามีความรู้อยู่ในระดับน้อย ตอบถูกน้อยกว่า5ข้อ แสดงว่ามีความรู้อยู่ในระดับน้อยมาก ตารางที่3 แสดงระดับความรู้ และร้อยละของผู้เข้าอบรมที่ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-5 ปี ในแต่ละข้อก่อนเข้าอบรม         ระดับความรู้                  N=80                           จำนวน       ร้อยละ ระดับดีมาก                     12               15 ระดับดี                     38               47.5 ระดับน้อย                   23             28.75 ระดับน้อยมาก             7               8.75 จากตารางที่3    จากการวัดระดับความรู้ ผู้เข้าอบรมที่ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-5 ปี ในภาพรวมพบว่า อยู่ในระดับดีมาก จำนวน12คน คิดเป็นร้อยละ15 ระดับดี จำนวน38คน คิดเป็นร้อยละ47.5 ระดับน้อย จำนวน23คน คิดเป็นร้อยละ28.75 และระดับน้อยมาก จำนวน7คน คิดเป็นร้อยละ8.75 ตารางที่4          แสดงระดับความรู้ และร้อยละของผู้เข้าอบรมที่ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-5 ปี ในแต่ละข้อหลังเข้าอบรม         ระดับความรู้                       N=80                                       จำนวน         ร้อยละ ระดับดีมาก                                 45       56.25 ระดับดี                                 28       35 ระดับน้อย                                 7         8.75 ระดับน้อยมาก                         0         0

    จากตารางที่4  จากการวัดระดับความรู้ ผู้เข้าอบรมที่ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-5 ปี ในภาพรวมพบว่า อยู่ในระดับดีมาก จำนวน45คน คิดเป็นร้อยละ56.25 ระดับดี จำนวน28คน คิดเป็นร้อยละ35 และระดับน้อย จำนวน7คน คิดเป็นร้อยละ8.75

    ตารางที่5 แสดงจำนวน และร้อยละ ของการประเมินทักษะการแปรงฟันจริงให้เด็กของผู้เข้าอบรม ว่าแปรงฟันด้วยวิธีที่เหมาะสมหรือวิธีที่ไม่เหมาะสม ก่อนให้ความรู้                                                             N=63             แปรงฟันด้วยวิธีที่เหมาะสม                           แปรงฟันด้วยวิธีที่ไม่เหมาะสม                     จำนวน      ร้อยละ                           จำนวน   ร้อยละ                       27       42.86                                     36             57.14 จากตารางที่5  จากการประเมินการทักษะการแปรงฟันจริงในเด็กของผู้เข้าอบรม โดยการสังเกตการแปรงฟัน พบว่าผู้เข้าอบรมที่แปรงฟันในเด็กด้วยวิธีที่เหมาะสมจำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 42.86 และแปรงฟันด้วยวิธีที่ไม่เหมาะสมจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 57.14
    ตารางที่6 แสดงจำนวน และร้อยละ ของการประเมินทักษะการแปรงฟันจริงให้เด็กของผู้เข้าอบรม ว่าแปรงฟันด้วยวิธีที่เหมาะสมหรือวิธีที่ไม่เหมาะสม หลังให้ความรู้                                                     N=63                 แปรงฟันด้วยวิธีที่เหมาะสม           แปรงฟันด้วยวิธีที่ไม่เหมาะสม                       จำนวน ร้อยละ             จำนวน     ร้อยละ                         47         74.60               16   25.40 จากตารางที่6 จากการประเมินการทักษะการแปรงฟันจริงในเด็กของผู้เข้าอบรม โดยการสังเกตการแปรงฟัน พบว่าผู้เข้าอบรมที่แปรงฟันในเด็กถูกวิธีจำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 74.60 และแปรงฟันผิดวิธีจำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 25.40
    ตารางที่7 แสดงจำนวน และร้อยละของการแปรงฟันจริงให้เด็กของผู้เข้าอบรมว่าสะอาดหรือไม่สะอาด โดยใช้หลอดขูดคราบจุลินทรีย์  ก่อนให้ความรู้                               N=63                   แปรงฟันสะอาด                       แปรงฟันไม่สะอาด                       จำนวน  ร้อยละ   จำนวน   ร้อยละ                         18         28.57   45           71.43 จากตารางที่7 จากการประเมินการแปรงฟันจริงในเด็กของผู้เข้าอบรมว่าแปรงฟันให้เด็กสะอาดหรือไม่สะอาด โดยการใช้หลอดขูดคราบจุลินทรีย์ พบว่าผู้เข้าอบรมที่แปรงฟันในเด็กสะอาดจำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 16.25 และแปรงฟันไม่สะอาดจำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 83.75

    ตารางที่8 แสดงจำนวน และร้อยละของการแปรงฟันจริงให้เด็กของผู้เข้าอบรมว่าสะอาดหรือไม่สะอาด โดยใช้หลอดขูดคราบจุลินทรีย์  หลังให้ความรู้                                                 N=63                   แปรงฟันสะอาด                     แปรงฟันไม่สะอาด                     จำนวน ร้อยละ         จำนวน ร้อยละ                       54 85.72             9         14.28 จากตารางที่8  จากการประเมินการแปรงฟันจริงในเด็กของผู้เข้าอบรมว่าแปรงฟันให้เด็กสะอาดหรือไม่สะอาด โดยการใช้หลอดขูดคราบจุลินทรีย์ พบว่าผู้เข้าอบรมที่แปรงฟันในเด็กสะอาดจำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 73.75 และแปรงฟันไม่สะอาดจำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 26.25

    ตารางที่9 แสดงจำนวน และร้อยละของเด็กที่มีฟันผุและไม่มีฟันผุ                                             N=63                   มีฟันผุ                       ไม่มีฟันผุ               จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ                 45       71.42           18         28.58

    ตาราที่10 แสดงจำนวนและร้อยละของเด็ก0-5ปี ที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับการทาฟลูออไรด์เฉพาะที่ ปี2560                                           N=286 - เด็ก0-5ปี ที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 286 คน - เด็ก0-5ปี ที่ได้รับการทาฟลูออไรด์เฉพาะที่ 169 คน คิดเป็นร้อยละ  59.10 ๒.เด็ก ๐-๕ ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยทันตบุคลากร ๓.เด็ก ๐-๕ ปี มีสุขภาพช่องปากที่ดี ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ๔.เด็ก ๐-๕ ปี ได้รับฟลูออไรด์วานิชเฉพาะที่ เพื่อป้องกันฟันผุ ๕.เด็ก ๐-๕ ปี มีอัตราฟันผุน้อยลง ๖.เด็กตำบลปิยามุมังได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐาน ร้อยละ ๙๐ ๗.เด็กที่ขาดวัคซีนได้รับการเยี่ยมบ้าน/ติดตาม ๘.เด็ก ๐-๕ ปี มีภาวะโภชนาการสมส่วนไม่ผ่านเกณฑ์ ในหัวข้อเด็กสูงดีสมส่วน ตามเกณฑ์ต้องผ่านร้อยละ 50 ส่วนเด็กตำบลปิยามุมังได้ร้อยละ 39.35
    ปัญหาอุปสรรค/ แนวทางแก้ไข
                ปัญหา/ อุปสรรค                                                                                                         แนวทางแก้ไข กิจกรรมวัคซีนครบ     จัดเวทีสัญจรแลกเปลี่ยนสัญจร 1.จำนวนผู้ปกครองที่มาร่วมจัดเวทียังออกมายังไม่เยอะ                                                      1.แนะนำการใช้เครือข่ายเพื่อนบ้านชวนกันออกมา 2.ติดตามเยี่ยมบ้านโดยทีมตำบล ยังขาดความร่วมมือจากเครือข่าย ซึ่งส่วนใหญ่ที่ออกติดตาม      2.อาจกทำแผนออกเยี่ยมบ้าน กรณีตัวแทนตำบลออกไม่ได้ให้มีตัวแทน   ยังเป็นกลุ่ม จนท. และอสม. 3.กิจกรรมเฟ้นหาเด็ก Smart Kids เจอปัญหาในด้านเวลาในการประกวดเนื่องจากแต่ละฐาน        3.ด้านเวลาอาจจะจัดกิจกรรมให้เร็วหน่อย จัดซุ้มเล่นให้เด็กมากกว่าเดิมเพื่อเรียกความสนใจ   ต้องใช้เวลาในการประเมิน จึงทำให้ผู้ปกครองบางคนหงุดหงิด เด็กง่วงนอน และ   ผู้ปกครองบางคนก็กลับก่อนจบกิจกรรม 4.กลุ่มเด็กที่ถูกติดตามก็จะเคยชินกับการติดตามฉีดที่บ้าน จึงไม่มาฉีดวัคซีน                            4.ผู้ปกครองควรสร้างความตระหนักกับตัวเองเรื่องวัคซีนแก่ลูก   ที่รพ.สต.รอแต่ให้ จนท.ไปฉีดที่บ้าน

    กิจกรรมพัฒนาการสมวัย โภชนาการสมส่วน อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง 1.ผู้ปกครองบางคนพาเด็ก เล็กๆมาด้วย ซึ่งเด็กส่งเสียงดังทำให้ ฟังไม่ค่อยชัดเสียสมาธิ            1.จัดสถานที่เพื่อให้เด็กเล่น อาจจะจัดชั้นล่างรพ.สต.

    กิจกรรมติดตาม/เยี่ยมบ้านชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก/เด็กขาดตรวจคัดกรองพัฒนาการ 1.บางครั้งเวลาที่ลงไปติดตาม เด็กไม่อยู่บ้าน                                                                  1.กำชับผู้ปกครองให้อยู่เพื่อการติดตาม 2.กรณีตรวจพัฒนาการต้องพาสื่อ ตรวจพัฒนาการไปด้วยซึ่งอุปกรณ์เยอะมาก                        2.อาจจัดวันลงเยี่ยมเป็นกลุ่มอายุเพื่อสะดวกในการพกพา 3.กรณีให้นมจืดแก่เด็กที่ทุพโภชนาการ เด็กคนอื่นในบ้านจะกินนมด้วย ทำให้เด็กได้รับนม          3.กำชับผู้ปกครองอย่าให้เด็กคนอื่นกิน หรืออจากทำบันทึกการกินนมของเด็ก   ไม่เพียงพอ

    กิจกรรมฟันดี
    1.ผู้ปกครองไม่ตระหนักเรื่องการดูสุขภาพในช่องปาก                                                      1.สร้างกระแสแก่ผู้ปกครองปัญหาสุขภาพในช่องปาก 2.เด็กไม่ให้ความร่วมมือเวลาตรวจการแปรงฟันที่ถูกวิธี                                                    2.แนะนำผู้ปกครองให้ฝึกการแปรงฟันกับเด็กทุกวัน

    ข้อเสนอแนะ 1.เรื่องงบประมาณต้องอนุมัติให้เร็วต้นปี เนื่องจากบางกิจกรรมต้องใช้งบประมาณในการดำเนินการ 2.จัดทีมตำบลเพื่อติดตามร่วมกัน ทำงานแบบบูรณาการ อีกทั้งยังสร้างความสัมพันธ์ในทีมด้วยกัน 3.อาจต้องดำเนินโครงการต่อเนื่องทุกๆปี เพราะบางกิจกรรมอาจใช้เวลาในการประเมินเช่น ประเมินฟันผุ

    โอกาสพัฒนา/ สิ่งที่อยากเห็นในอนาคต 1.หาเด็กสุขภาพเพื่อทำเป็นเด็กตัวอย่าง เด็กมีคุณภาพ SMART KIDS ตำบลปิยามุมัง 2.ให้แต่ละครัวเรือนจัดแปลงผักสวนครัวเน้นผักที่ปลอดสารพิษและให้คูณค่าทางโภชนาการสูง 3.มีทีมเข้มแข็ง ที่พร้อมจะทำพาเด็กปิยาสู่เด็กมีสุขภาพดี คุณภาพ


    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.เพื่อให้ร้อยละ ๑๐๐ ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๕ ปี มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันของเด็ก
    ตัวชี้วัด : ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๕ ปี มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันของเด็กร้อยละ 100

     

    2 2.เพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุร้อยละ ๙๐
    ตัวชี้วัด : เด็ก ๐-๕ ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุร้อยละ ๙๐

     

    3 ๓.เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กตะหนักถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กทั้ง ๕ ด้านและได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามกลุ่มอายุ ๙, ๑๘, ๓๐ และ ๔๒ เดือนครบทุกคน
    ตัวชี้วัด : เด็กได้รับตรวจคัดกรองพัฒนาการตามกลุ่มอายุ ๙, ๑๘, ๓๐ และ ๔๒ เดือนครบทุกคน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้ร้อยละ ๑๐๐ ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๕ ปี มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันของเด็ก (2) 2.เพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุร้อยละ ๙๐ (3) ๓.เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กตะหนักถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กทั้ง ๕ ด้านและได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามกลุ่มอายุ ๙, ๑๘, ๓๐ และ ๔๒ เดือนครบทุกคน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการบูรณาการสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย สมส่วน ฟันดี วัคซีนครบ (SMART KIDS)ตำบลปิยามุมัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3045-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสารอมูหะมะสาเล็ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด