กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาววรัญญา เฉลิมบุญ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5273-1-5 เลขที่ข้อตกลง 13/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5273-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid 19) ระลอกใหม่ในช่วงเดือนเมษายน จนถึงปัจจุบัน มีอัตราการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วและแพร่กระจายในวงกว้างส่งผลให้ประชาชนติดเชื้อจำนวนมากกว่าว้นละ 1,000 คน ซึ่งอาการของผู้ป่วยโควิดมีระดับความรุนแรงตั้งแต่น้อยจนถึงมากและถึงขั้นเสียชีวิต จังหวัดสงขลา นับได้ว่าเป็นจังหวัดอันดับบต้น ๆ ของประเทศและของภาคใต้ ในระลอกสามที่มีผู้ป่วยตรวจพบเชื้อผลบวก และผู้สัมผัสเป็นจำนวนมาก จากหลายคลัสเตอร์และจากการสัมผัสโดยส่วนตัว เกิดขึ้นในหลายสถานที่และมีไทม์ไลน์ที่เกี่ยวข้องกระจายอยู่ทุกอำเภอ ส่วนตำบลฉลุงพบผู้ป่วยที่ตรวจพบผลบวกในระดับไม่รุนแรง เข้ารับรักษาตัวในโรงพยาบาลสนาม จำนวน ราย หากแนวโน้มสถานการณ์รุนแรงขึ้น บุคลากรทางการแพทย์ เครื่องอุปกรณ์ โรงพยายาลมีแนวโน้มไม่เพียงพอ ที่ต้องได้รับการจัดการและรับความร่วมมือจากทั้งภาครัฐ เอกชนในทุกระดับ รวมถึงการดูแลและเฝ้าระวังพฤติกรรมของประชาชนเอง ตามหลักการ DMHTT (ย่อมาจาก Distancing คือ การเว้นระยะห่างกับคนอื่นอย่างน้อย 1-2 เมตร เพราะละอองฝอยจากการพูด ไอ จาม จะฟุ้งมากในระยะ 1-2 เมตร, M ย่อมาจาก Mask Wearing คือการสวมหน้าการผ้า หรือหน้ากากอนามัยเพื่อลดการฟุ้มกระจายของละอองฝอย โดยประชาชาชนทั่วไปสามารถสวมหน้ากากผ้าได้ตลอด, H ย่อมาจาก Hand Washing คือการหมั่นล้างมือบ่อย ๆ ทั้งน้ำสบู่ และเจลแอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อ , T ย่อมาจาก Testing คือตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายสม่ำเสมอ ทั้งก่อนเข้าทำงาน ฯ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.ฉลุง ได้เล็งเห็นว่า จากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ผ่านมาตั้งแต่ระลอก 1 ถึงปัจจุบัน การเตรียมความพร้อมของวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ที่ใช้ในการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019 ต้องมีความพร้อมและเพียงพอในการรองรับสถานการณ์อยู่ตลอดเวลา จึงต้องมีการสำรองวัสดุอุปกรณ์ทุกชนิด เพราะโดยอำนาจหน้าของ อบต. มีหน้าที่ในการป้องกันโรคติดต่อตามพระราชบัญญัติ ประกอบกับพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่6 พ.ศ. 2552 มาตรา 67 (3) โรคและระงับโรคติดต่อ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ 2564

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้มีทรัพยากรด้านวัสดุ อุปกรณ์ เพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ฯ
  2. 2.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคด้วยตนเอง
  3. 3.เพื่อให้ผู้ดูแลกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019ฯ และสามารถให้การดูแลกลุ่มเสี่ยงได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชาสัมพันธ์ความรู้ให้กับประชาชน
  2. 2.การป้องกันและควบคุมโรค
  3. 3.จัดซื้อ หน้ากากอนามัยและเจลล้างมือเพื่อกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 572
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 920
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 176
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ไม่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นคัสเตอร์ในชุมชน ของตำบลฉลุง 2.สถานที่พักของผู้ป่วยทุกราย และสถานที่ราชการ สถานที่สาธารณะฯ ได้รับการป้องกันควบคุมโรค (COVID-19) โดยการพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อ 3.ประชาชนกลุ่มวันที่เสี่ยงได้ับการดูแลจากผู้ดูแลหรือป้องกันตนเองจากการติดเชื้อ (COVID-19) ได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ประชาสัมพันธ์ความรู้ให้กับประชาชน

วันที่ 1 มิถุนายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อให้ประชาชนปฏิบัติตามมาตรการ DMHTT ผ่านรถประชาสัมพันธ์  มีการติดเครื่องขยายเสียงและทำการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์จุดสำคัญที่มองเห็นเด่นชัดในพื้นที่ตำบลฉลุง  ทั้ง 7 หมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนทั้ง 7 หมู่บ้าน ได้รับรู้ข่าวสารผ่านช่องการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับมาตรการต่าง ๆ ที่ต้องปฏิบัติ  เพื่อให้ปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19

 

0 0

2. 3.จัดซื้อ หน้ากากอนามัยและเจลล้างมือเพื่อกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 1 มิถุนายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการจัดหาหน้ากากอนามัยและเจลล้างมือเพื่อให้แก่กลุ่มเสี่ยง  คือ  กลุ่มเด็ก 0-5 ปี  กลุ่มผู้สูงอายุ  กลุ่มผู้พิการ  และกลุ่มติดเตียง  เพื่อให้มีอุปกรณ์ใช้ในการป้องกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย  กลุ่มเสี่ยง  คือ  กลุ่มเด็ก 0-5 ปี  กลุ่มผู้สูงอายุ  กลุ่มผู้พิการ  และกลุ่มติดเตียง  ได้มีวัสดุในการป้องกันตนเองได้อย่างเพียงพอ  สามารถป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19 ได้

 

1,668 0

3. 2.การป้องกันและควบคุมโรค

วันที่ 1 มิถุนายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.มีการจัดหาวัสดุ  อุปกรณ์ที่จำเป็นเพื่อใช้ในการป้องกันและควบคุมโรค 2.ดำเนินการควบคุมโรค  โดยการออกพ่นฆ่าเชื้อให้กับบ้านผู้ป่วยที่ยืนยันผลพบผลบวกสารพันธุกรรมโรคติดเชื้อโควิด-19

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถจัดหาวัสดุ  อุปกรณ์ที่จำเป็นในการป้องกัน  และควบคุมโรค  ไม่ให้เกิดการแพร่ระบาด  ได้อย่างเพียงพอ  โดยการออกพ่นฆ่าเชื้อให้แก่บ้านผู้ป่วยที่เป็นโรคโควิด-19 เพื่อหยุดการแพร่ระบาด  ซึ่งในพื้นที่ตำบลฉลุงก็สามารถที่จะรับมือไม่ให้แพร่ระบาดในวงกว้างได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้มีทรัพยากรด้านวัสดุ อุปกรณ์ เพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ฯ
ตัวชี้วัด : มีวัสดุ อุปกรณ์ เพียงพอต่อการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019ฯ
0.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ประชาชนปฏิบัติตามมาตรการ DMHTT หรือตามคำสั่งคณะกรรมการควบคุมโรคจังหวัดสงขลา
0.00

 

3 3.เพื่อให้ผู้ดูแลกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019ฯ และสามารถให้การดูแลกลุ่มเสี่ยงได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของกลุ่มเสี่ยงได้รับหน้ากากอนามัยและผู้ดูแลได้รับแนวทาง ข้อปฏิบัติในการช่วยเหลือดูแลกลุ่มเสี่ยง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1668
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 572
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 920
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 176
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้มีทรัพยากรด้านวัสดุ อุปกรณ์ เพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ฯ (2) 2.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคด้วยตนเอง (3) 3.เพื่อให้ผู้ดูแลกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019ฯ และสามารถให้การดูแลกลุ่มเสี่ยงได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชาสัมพันธ์ความรู้ให้กับประชาชน (2) 2.การป้องกันและควบคุมโรค (3) 3.จัดซื้อ หน้ากากอนามัยและเจลล้างมือเพื่อกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5273-1-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววรัญญา เฉลิมบุญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด