กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.หมอประจำบ้าน ตำบลเจ๊ะบิลัง
รหัสโครงการ L7886/2564/1/1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2
วันที่อนุมัติ 1 กรกฎาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 18 สิงหาคม 2564 - 19 สิงหาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 2 ตำบลเจ๊ะบิลัง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 18 ส.ค. 2564 19 ส.ค. 2564 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 55 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละการทบทวนบทบาทและภารกิจของ อสม.ในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่ เปลี่ยนแปลงไป
55.00
2 ร้อยละการพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นและเร่งด่วนของ อสม.ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่
55.00
3 ร้อยละการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน
55.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อทบทวนบทบาทและภารกิจของ อสม.ในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่ เปลี่ยนแปลงไป

จำนวน อสม.ที่เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆตามบทบาทภารกิจอย่างน้อยร้อยละ 90

55.00 1.00
2 เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นและเร่งด่วนของ อสม.ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่
  1. จำนวน อสม.ที่เข้ารับการอบรม ร้อยละ 90
  2. อสม.มีความรู้ในการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐานในเรื่องที่จำเป็นอย่างน้อยร้อยละ 80
55.00 1.00
3 เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน

มีแผนปฏิบัติงานในการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน

55.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 55 20,000.00 2 20,000.00
27 มิ.ย. 64 - 27 ก.ค. 64 ประเมินผลการอบรม และการรณรงค์กิจกรรมด้านสุขภาพ และสรุป วิเคราะห์ ประเมินผล 0 0.00 0.00
18 - 19 ส.ค. 64 อบรมฟื้นฟูศักยภาพและจัดทำแผนเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนในพื้นที่จำนวน 2 วัน 55 20,000.00 20,000.00
  1. รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน และการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขในปีที่ผ่านมา เพื่อวางแผนและกำหนดทิศทางการพัฒนา       2. ประชุมชี้แจงโครงการฯ แก่เจ้าหน้าที่และ อสม.ทุกชุมชน       3. แต่งตั้งคณะทำงาน/ประชุมคณะทำงานทีมวิทยากร เพื่อกำหนดเนื้อหาการอบรม และแนวทางการดำเนินการ       4. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ อสม.ทุกชุมชนเพื่อประสานผู้เข้าร่วมประชุม       5. ดำเนินการอบรมฟื้นฟูศักยภาพและจัดทำแผนเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนในพื้นที่จำนวน 1 วัน
          6. ประเมินผลการอบรม
          7. สรุป วิเคราะห์ ประเมินผล
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    1. ชุมชนมีการจัดการระบบการเฝ้าระวังและดูแลโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพของชุมชนได้ดียิ่งขึ้น
    2. สามารถจัดการด้านสุขภาพในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสุขภาพประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 พ.ค. 2564 00:00 น.