กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกินอย่างปลอดภัย ใสใจคุณภาพ
รหัสโครงการ 64-50110-2-18
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านท่าพง
วันที่อนุมัติ 4 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 16,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเจ๊ะคอดีย๊ะ อาแว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.872,101.43place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2564 30 ก.ย. 2564 16,600.00
รวมงบประมาณ 16,600.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารนั้นมีสารที่เป็นอันตรายปนเปื้อนหรือแม้แต่มีสารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้แต่มีปริมาณที่มากกว่าที่กำหนดก็ย่อมให้เกิดพิษภัยกับผู้บริโภคส่งผลต่อคุณภาพชีวิต การส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วยเป็นสิ่งที่โรงเรียนต้องให้การสนับสนุน ควบคุม ดูแล เฝ้าระวังและป้องกันให้กับนักเรียน เพราะการรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์หรือปนเปื้อนด้วยสารพิษ เมื่อรับประทานเข้าไปแล้วก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพร่างกายทั้งในระยะสั้นและระยะยาว แต่ในปัจจุบันการบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียนเป็นไปในทางที่ไม่ถูกต้องมากนัก เพราะเด็กในวัยเรียนยังขาดความรู้ความเข้าใจและความสนใจในการเลือกบริโภคอาหารอย่างถูกหลักอนามัยและโดยส่วนใหญ่แล้วนักเรียนทานอาหารไม่ครบตามสัดส่วนของอาหาร 5 หมู่ ไม่ชอบทานผักและผลไม้ ชอบทานอาหารขยะ เช่น ขนมหวานที่มีสีฉูดฉาด ขนมขบเคี้ยว บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป อาหารปิ้งย่าง อาหารหมักดอง และน้ำอัดลม เป็นต้น อาหารเหล่านี้มีคลอเรสทอรอลสูงและมีสารที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพร่างกาย เช่น โรคอ้วน โรคขาดสารอาหาร โรคฟันผุ หรือเจ็บป่วยบ่อยส่งผลกระทบต่อการเรียน ดังนั้นเพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและปลอดภัย และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินที่ส่งผลดีต่อสุขภาพ โรงเรียนบ้านท่าพงจึงได้จัดทำโครงการกินอย่างปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพขึ้น เพื่อร่วมมือกันสร้างเสริมสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงและนักเรียนมีคุณภาพชีวิตที่ดี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านท่าพงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และปลอดภัยต่อสุขภาพ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ร้อยละนักเรียนมีความรู้มากขึ้น

1.00
2 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านท่าพงมีความตระหนักในการเลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ

ร้อยละนักเรียนมีสุขภาพที่ดี

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 2 16,600.00 5 16,600.00
1 พ.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ 0 4,200.00 500.00
1 พ.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน 2 11,900.00 0.00
1 พ.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมตรวจสอบคุณภาพอาหารจากร้านค้าในชุมชน 0 500.00 4,200.00
1 พ.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมเสียงตามสาย 0 0.00 11,900.00
5 พ.ย. 65 กิจกรรมพี่สอนน้อง เพื่อการเรียนรู้ที่ยั่งยืน 0 0.00 0.00
  1. เสนอโครงการต่อประธานกรรมการฯ เพื่อขอความเห็นชอบและอนุมัติโครงการ
  2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการ
  3. ประชุมคณะกรรมการเพื่อดำเนินการกิจกรรมและจัดสรรงบประมาณ
  4. ปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงาน
    1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้
        - จัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้เกี่ยวกับอาหาร
    2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-6 โดยวิทยากรภายนอก
                  - บรรยายให้ความรู้ เกี่ยวกับโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร
                  - ฝึกทักษะการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ
          1. ทดสอบสารบอแรกซ์ในอาหาร
          2. ทดสอบสารฟอร์มาลีนในอาหาร
          3. ทดสอบสารกันราในอาหาร
                          4. ทดสอบสารฟอกขาวในอาหาร
    3. กิจกรรมตรวจสอบคุณภาพอาหารจากร้านค้าในชุมชน
              4. กิจกรรมเสียงตามสาย
    4. กิจกรรมพี่สอนน้อง เพื่อการเรียนรู้ที่ยั่งยืน
    5. ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน
    6. สรุปผลการปฏิบัติงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และปลอดภัยต่อสุขภาพ
7.2 นักเรียนสามารถเลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการได้ 7.3 นักเรียนมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 พ.ค. 2564 10:10 น.