กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการลดภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงด้วยวิถีชุมชน ปี 2564 ”
ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางยูนัยดะห์ กะดะแซ




ชื่อโครงการ โครงการลดภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงด้วยวิถีชุมชน ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2564-L8412-7(1)-08 เลขที่ข้อตกลง 09/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงด้วยวิถีชุมชน ปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงด้วยวิถีชุมชน ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงด้วยวิถีชุมชน ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2564-L8412-7(1)-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานความดันโลหิตสูง นับเป็นปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญและนำมาซึ่งความทุกข์ ความสูญเสียทรัพยากรในการดูแลรักษา ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย และผู้ดูแล ทั้งด้านค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว และการเจ็บป่วยซึ่งอาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานาน ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ บางรายอาจมีภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง เช่น แผลเรื้อรัง ปัญหาการมองเห็น ปัญหาทางไต อัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นต้น       โรคแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง สามารถเกิดได้ทุกระบบได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคตา โรคไต โรคแทรกซ้อน ที่ขา โรคแทรกซ้อนทางระบบประสาท โรคทางช่องปาก โรคผิวหนัง เนื่องจากโรคเบาหวานมักจะพบร่วมกับโรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเส้นเลือด โรคอ้วน ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด การป้องกันก่อนการเกิดโรคจะลดอัตราการป่วยและการเสียชีวิตได้ โรคเบาหวานมักจะมีโรคแทรกซ้อนที่สำคัญคือหลอดเลือดแข็ง เมื่อหลอดเลือดแข็งที่อวัยวะหรือระบบใดก็จะเกิดโรคที่ระบบนั้น เช่น กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด อัมพาต เท้าขาดเลือด หรือไตวาย โรคหลอดเลือดตีบที่ขา เป็นต้น
    ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป จึงได้จัดโครงการลดภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงด้วยวิถีชุมชน เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานความดันมีความรู้และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน รวมถึงตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพ ในบริบทชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง มีความรู้ สามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
  2. 2. ผู้ป่วยมีความเข้าใจในการเลือกดูแลสุขภาพเหมาะกับตนเอง มีทางเลือกในการดูแลสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อาหาร การออกกำลังกาย การกินยา การจัดการความเครียด ห่างไกลสุรา บุหรี่ จำนวน 70 คน โดยแบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 35 คน x 2 วัน แบ่งกลุ่มตามเกณฑ์ 3 กลุ่ม เพื่อการจัดการดูแลตนเองอย่างเหมาะสม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง     2. ผู้ป่วยมีทางเลือกในการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมกับตนเอง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง มีความรู้ สามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตมีความรู้ความเข้าใจโรคเบื้องต้น ประเมินผลจากการสังเกตเวลาตอบคำถามขณะอบรม (ร้อยละ 80)
0.00

 

2 2. ผู้ป่วยมีความเข้าใจในการเลือกดูแลสุขภาพเหมาะกับตนเอง มีทางเลือกในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 2. ผู้ป่วยมีกำลังใจ สามารถเลือกแนวทางในการดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม โดยการแบ่งกลุ่มผู้ป่วย 3 กลุ่ม 1. กลุ่มสีเขียว (ควบคุมอาการได้) 2. กลุ่มสีเหลือง (กลุ่มผู้สูงอายุ/กลุ่มพึ่งพา) 3.กลุ่มสีแดง (กลุ่มควบคุมอาการไม่ได้/มีภาวะแทรกซ้อน )
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง มีความรู้ สามารถป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน (2) 2. ผู้ป่วยมีความเข้าใจในการเลือกดูแลสุขภาพเหมาะกับตนเอง มีทางเลือกในการดูแลสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง  อาหาร การออกกำลังกาย  การกินยา การจัดการความเครียด ห่างไกลสุรา บุหรี่  จำนวน 70 คน โดยแบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 35 คน x 2 วัน แบ่งกลุ่มตามเกณฑ์ 3 กลุ่ม  เพื่อการจัดการดูแลตนเองอย่างเหมาะสม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงด้วยวิถีชุมชน ปี 2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2564-L8412-7(1)-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางยูนัยดะห์ กะดะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด