กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อคนไทยไร้พุง ”

ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ผอ.รพ.สต.บ้านหาดไข่เต่า

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อคนไทยไร้พุง

ที่อยู่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3332-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อคนไทยไร้พุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อคนไทยไร้พุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อคนไทยไร้พุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3332-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 กรกฎาคม 2564 - 30 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,046.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันความทันสมัยของเทคโนโลยีมีความก้าวหน้ามากขึ้น ส่งผลให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง ก่อให้เกิดโรคที่เกิดจากการมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม มีอัตราอุบัติการณ์การเกิดโรคเพิ่มสูงขึ้น ไม่ว่าจะเป็นโรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น จากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายของกระทรวงสาธารณสุข พบอัตราความชุกของโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 22 (ประมาณ 10.1 ล้านคน)อัตราความชุกของโรคเบาหวาน ร้อยละ 6.9 (ประมาณ 3.2 ล้านคน)และพบว่ากลุ่มประชากร อายุ 45 - 59 ปี เป็นกลุ่มที่เริ่มพบภาวการณ์เกิดโรค ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อสูงกว่ากลุ่มอื่นๆจากหลักฐานทางวิชาการ พบว่า การลดน้ำหนัก ร้อยละ 5 - 10 ของน้ำหนักตัว ก็จะช่วยลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่เกิดจากภาวะอ้วนได้ และถ้าสามารถลดขนาดของรอบเอวได้ทุกๆ5 เซนติเมตร จะสามารถลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวานได้ 3 - 5 เท่า จากผลการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง รวมทั้งชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง วัดรอบเอว และตรวจสุขภาพเบื้องต้นอื่นๆ ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า ตำบลนาปะขออำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง พบว่า ร้อยละของประชากรที่ไดรับการตรวจคัดกรองที่มีค่าดัชนีมวลกาย ( BMI =25 กก/ม2 และหรือภาวะอ้วนลงพุง (รอบเอวเกิน ชาย 90 ซม. หญิง 80 ซม.) ร้อยละ 66.06 % ของประชากรที่ได้รับการคัดกรอง
ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาปะขออำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุงจึงเห็นควรจัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คนไทยไร้พุง ประจำปี 2564 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนและกลุ่มเป้าหมายได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และกลุ่มที่เป็นโรคเรื้อรังอยู่แล้วไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคอีกทั้งยังสามารถเข้าถึงหน่วยบริการได้สะดวกและเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปทางที่เหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมอบรม เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมใน เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสมและ ค่าดัชนีมวลกายลดลง หรือ อยู่ในเกณฑ์ ปกติ
  2. เพื่อป้องกันให้ผู้เข้าร่วมอบรม กลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยงไม่เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและกลุ่มป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
  3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม ได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประมวลค่าBMI ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด และวัดระดับไขมันในช่องท้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น ชั่งน้ำหนัก วัด ส่วนสูง ประมวลค่าBMI ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด และวัดระดับไขมันในช่องท้องแก่กลุ่มเป้าหมาย โดยการตรวจเชิงรุก ที่บ้านในเวลาเช้าตรู่โดย เจ้าหน้าที่หรืออสม.ในเขตรับผิดชอบ เนื่องจากต้องงดน้ำและอาหารก่อนเจาะน้ำตาล
  2. ประชุมเชิงปฏิบัติการให้แก่กลุ่มเป้าหมาย คือ แกนนำ อสม.รพ.สต.บ้านหาดไข่เต่า และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหาดไข่เต่า จำนวน 60 คน เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อคนไทยไร้พุง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ ในเรื่องการดูแลตนเองเพื่อควบคุมน้ำหนัก ระดับไขมันในเลือด อาหาร การออกกำลังกายและจัดการกับ อารมณ์ที่เหมาะสมร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมอบรม กลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยงไม่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและกลุ่มป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมอบรม ได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประมวลค่าBMI ตรวจระดับน้ำตาลในเลือดและวัดระดับ ไขมันในช่องท้อง ร้อยละ 80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมอบรม เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมใน เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสมและ ค่าดัชนีมวลกายลดลง หรือ อยู่ในเกณฑ์ ปกติ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมที่เข้าร่วมโครงการ เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมใน เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม และ ค่าดัชนีมวลกายลดลง หรือ อยู่ในเกณฑ์ ปกติร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อป้องกันให้ผู้เข้าร่วมอบรม กลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยงไม่เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและกลุ่มป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรม กลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยงไม่เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และกลุ่มป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม ได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประมวลค่าBMI ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด และวัดระดับไขมันในช่องท้อง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรม ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประมวลค่าBMI ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด และวัดระดับไขมันในช่องท้อง ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมอบรม เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมใน เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสมและ ค่าดัชนีมวลกายลดลง หรือ อยู่ในเกณฑ์ ปกติ (2) เพื่อป้องกันให้ผู้เข้าร่วมอบรม กลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยงไม่เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและกลุ่มป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม ได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประมวลค่าBMI ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด และวัดระดับไขมันในช่องท้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น ชั่งน้ำหนัก วัด ส่วนสูง ประมวลค่าBMI ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด และวัดระดับไขมันในช่องท้องแก่กลุ่มเป้าหมาย โดยการตรวจเชิงรุก ที่บ้านในเวลาเช้าตรู่โดย เจ้าหน้าที่หรืออสม.ในเขตรับผิดชอบ เนื่องจากต้องงดน้ำและอาหารก่อนเจาะน้ำตาล (2) ประชุมเชิงปฏิบัติการให้แก่กลุ่มเป้าหมาย คือ  แกนนำ อสม.รพ.สต.บ้านหาดไข่เต่า และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหาดไข่เต่า จำนวน 60 คน เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อคนไทยไร้พุง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อคนไทยไร้พุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3332-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผอ.รพ.สต.บ้านหาดไข่เต่า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด