กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาสะแบง


“ โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ตำบลนาสะแบง อำเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลนาสะแบง อำเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ

หัวหน้าโครงการ
นางอัครรัตน์ รังรส

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ตำบลนาสะแบง อำเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลนาสะแบง อำเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ จังหวัด บึงกาฬ

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ตำบลนาสะแบง อำเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดบึงกาฬ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาสะแบง อำเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาสะแบง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ตำบลนาสะแบง อำเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ตำบลนาสะแบง อำเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาสะแบง อำเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาสะแบง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรผู้สูงอายุในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา เป็นไปตามการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรโลกโดยประเทศไทยมีจำนวนและสัดส่วนผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้น สัดส่วนของผู้สูงอายุจะเพิ่มจากร้อยละ 7.2 ในปี พ.ศ.2533 เป็นร้อยละ 9.2 ในปี พ.ศ. 2543 เป็นร้อยละ 11.5 ในปี พ.ศ.2553 และเป็นร้อยละ 15.3 ในปี พ.ศ.2562 จากสถิติจำนวนละสัดส่วนผู้สูงอายุไทยที่เพิ่มขึ้นในอัตราที่รวดเร็ว กอปรกับภาวะเศรษฐกิจและสภาพสังคมไทยที่เปลี่ยนไปทำให้เกิดปัญหามากมาย ได้แก่ ปัญหาการที่ลูกต้องเข้าเมืองทำงานหารายได้และทิ้งผู้สูงอายุให้ดูแลตนเองและหลานๆ ปัญหาการทำร้ายร่างกาย และทำร้ายจิตใจของผู้สูงอายุโดยลูกหลาน ปัญหาความเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพา ปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังมากมาย ประเทศไทยมีนโยบายผู้สูงอายุฉบับล่าสุด ได้กำหนดแนวทางสนับสนุนให้มีการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านเป็นแนวทางที่เข้ากับบรรทัดฐานของสังคมไทย การนำนโยบายสู่การปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดระบบการดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทย ยังมีข้อจำกัด เพราะบริบทต่างๆของภูมิภาคหรือชุมชนมีความแตกต่างกัน ทำให้ไม่สามารถใช้รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งสำหรับการดูแลผู้สูงวัย นับเป็นโอกาสที่ดีที่ประเทศไทยได้นำนโยบายการประกันสุขภาพถ้วนหน้า ที่เน้นการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขโดยกรมอนามัยมีความมุ่งเน้นการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว( Long term care ) ซึ่งเป็นการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตั้งแต่สุขภาพดีไม่ป่วย ให้ยืดระยะเวลาของการมีสุขภาพดีให้ยาวนานที่สุด นอกจากนี้การดูแลป้องกันผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรังไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนและอาการลุกลามได้ ด้วยการส่งเสริมสุขภาพ ส่วนผู้สูงอายุกลุ่มช่วยเหลือตนเองไม่ได้หรือทุพพลภาพได้รับการดูแลฟื้นฟูสภาพอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาสะแบง จึงเห็นความสำคัญและความจำเป็นในดูแลผู้สูงอายุในชุมชนเพื่อป้องกันปัญหาการเจ็บป่วยเรื้อรังของผู้สูงอายุและความพิการที่จะตามมา การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนอันจะส่งผลให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ตรงตามปัญหาและความต้องการและสอดคล้องกับวิถีชีวิตและบริบทของชุมชนการดูแลผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องและการดูแลระยะยาว ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ ทั้งยังส่งเสริมและช่วยเหลือให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตในสังคม อย่างมีศักดิ์ศรี มีสุขทั้งทางร่างกายและจิตใจ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจและประเมินภาวะสุขภาพประจำปี ร้อยละ๘๐

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจผู้สูงอายุรายหมู่บ้านและแยกกลุ่มผู้สูงอายุออกเป็น 3 กลุ่ม
  2. ตรวจสุขภาพพื้นฐานและตรวจสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 800
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุทุกคนในตำบลนาสะแบงได้รับการดูแลครอบคลุมมิติ ด้านสุขภาพร่างกายและจิตใจ
มิติด้านสังคมและมิติด้านจิตวิญญาณ โดยการประสานความร่วมมือทั้งภาครัฐ,ภาคประชาชนและท้องถิ่น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจและประเมินภาวะสุขภาพประจำปี ร้อยละ๘๐
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการตรวจและประเมินภาวะสุขภาพประจำปี ร้อยละ๘๐
60.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 800
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 800
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจและประเมินภาวะสุขภาพประจำปี ร้อยละ๘๐

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจผู้สูงอายุรายหมู่บ้านและแยกกลุ่มผู้สูงอายุออกเป็น 3 กลุ่ม (2) ตรวจสุขภาพพื้นฐานและตรวจสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ตำบลนาสะแบง อำเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด บึงกาฬ

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอัครรัตน์ รังรส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด