กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา


“ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยโรงพยาบาลรัษฎา ”

ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายชัยณรงค์ มากเพ็ง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยโรงพยาบาลรัษฎา

ที่อยู่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1513-01-006 เลขที่ข้อตกลง 27/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยโรงพยาบาลรัษฎา จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยโรงพยาบาลรัษฎา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยโรงพยาบาลรัษฎา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1513-01-006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 30 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,998.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลก (WHO)ได้ยกระดับการเตือนภัยความเสี่ยงการระบาดไปทั่วโลกของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ให้อยู่ในระดับ “สูงมาก” ซึ่งเป็นระดับสูงสุด โดยให้เหตุผลว่ายอดผู้ติดเชื้อที่เพิ่มขึ้นและการลุกลามไปในประเทศต่างๆอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขได้ยกระดับศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน เป็นระดับ 3 เพื่อติดตามสถานการณ์โรคทั้งในประเทศและต่างประเทศอย่างใกล้ชิด และบริหารจัดการทรัพยากรสนับสนุนการเตรียมความพร้อมสำหรับรับมือโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ผู้ป่วยผู้ติดเชื้อบางรายจำเป็นต้องรักษาตัวที่โรงพยาบาล ผู้ป่วยที่อาการหนักจะมีอาการปอดบวมอักเสบร่วมด้วย หากอาการรุนแรงมากอาจทำให้อวัยวะภายในล้มเหลว เสียชีวิดได้ สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบว่ามีการระบาดไปทั่วโลก มีผู้ติดเชื้อรวม 169,623,481 ราย มีผู้เสียชีวิต 3,525,023 ราย (ข้อมูล ณ 28 พฤษภาคม 2564) อีกทั้งในหลายๆประเทศ ยังมีการระบาด และยังมียอดผู้เสียชีวิตอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งประเทศไทย ซึ่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข รายงานสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2564 มียอดติดเชื้อสะสม 144,976 ราย เสียชีวิต 954 ราย หาย กำลังรักษาอยู่ 46,150 ราย อาการหนัก 1,226 ราย (ใส่เครื่องช่วยหายใจ 405 ราย) ในขณะที่จังหวัดตรัง พบผู้ป่วยสะสม 344รายเสียชีวิต 1 ราย กำลังรักษา 64 ราย รักษาหายแล้ว 279 ราย แนวทางลดการระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประการหนึ่งคือ เร่งการฉีดวัคซีนแก่ กลุ่มเป้าหมายต่างๆ ให้ครอบคลุมประชากรทั่วประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เพื่อสร้าง "ภูมิคุ้มกันหมู่" โดยรัฐบาล ได้ประกาศให้เป็น "วาระแห่งชาติ" พร้อมกำหนดให้วันที่ 7 มิถุนายน 2564 เป็นจุดเริ่มต้น ในการฉีดวัคซีน ซึ่งในจังหวัดตรัง กำหนดให้กลุ่มเป้าหมายต่างๆที่มีการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด - 19 จำนวน ทั้งสิ้น 158,350. คน อำเภอรัษฎา จำนวน 17,923 คน โดยมีกลุ่มเป้าหมายฉีดวัคซีน ในตำบลควนเมาจำนวน4,778 คน
เพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายของรัฐ และการประสานความร่วมมือในการลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยอาศัยประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๖๓ ตาม ข้อ ๑๐/๑ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดการระบาดของโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ และคณะกรรมการกองทุนไม่อาจอนุมัติค่าใช้จ่ายตามข้อ ๑๐ ได้ทันต่อสถานการณ์ ให้ประธานกรรมการตามข้อ ๑๒ มีอำนาจอนุมัติโครงการหรือกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสาธารณสุขกรณีเกิดการระบาดของโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อให้ตามความจำเป็น ได้ไม่เกินหนึ่งแสนบามต่อโครงการ โดยให้ถือว่าเป็นโครงการหรือกิจกรรมที่คณะกรรมกองทุนอนุมัติตามประกาศนี้ด้วย แล้วรายงานผลการดำเนินงานให้คณะกรรมการกองทุนทราบโดยทางโรงพยาบาลรัษฎา อำเภอรัษฎา จังหวัดตรังมีความจำเป็นในการรณรงค์และเร่งรัดให้ประชาชนในพื้นที่อำเภอรัษฎา ได้รับการฉีดวิคซีนโควิด-19 ให้ครอบคลุมประชากรตามกลุ่มเป้าหมาย อันจะส่งผลในการลดการแพร่ระบาดของโรคต่อไป ทางโรงพยาบาลรัษฎา จึงของบสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นองค์การบริหารส่วน ตำบลควนเมา เพื่อให้สถานบริการสาธารณสุขมีสถานที่ให้บริการวัคซีนโควิด – 19 ถูกต้องตามมาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อโควิด – 19 และประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนตามเป้าหมาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนโควิด - 19 ครบตามเกณฑ์
  2. 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,778
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สถานบริการสาธารณสุขมีสถานที่ให้บริการวัคซีนโควิด – 19 ถูกต้องตามมาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อโควิด – 19
  2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการวัคซีนโควิต – 19 ถูกต้องตามมาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อ
  3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันตนเอง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนโควิด - 19 ครบตามเกณฑ์

วันที่ 1 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดสถานที่ในการฉีดวัคซีนโควิด - 19

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนโควิด - 19  ครบตามเกณฑ์

 

0 0

2. 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันตนเอง

วันที่ 1 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดทำป้ายให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันตนเอง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4778
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,778
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนโควิด - 19  ครบตามเกณฑ์ (2) 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันตนเอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยโรงพยาบาลรัษฎา จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1513-01-006

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชัยณรงค์ มากเพ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด