กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการบ้านคูรวมพลังต่อต้านยาเสพติด ปี 2564 โดยผ่านการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการประชุม ปรึกษา วางแผน จัดทำขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนในพื้นที่รับทราบถึงวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการดำเนินงาน และบันทึกข้อตกลงร่วมกัน โดยมีโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา อำเภอบางกล่ำ โรงพยาบาลบางกล่ำ สถานีตำรวจภูธรบางกล่ำ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบางกล่ำ ผู้นำชุมชน ภาคประชาชน พัฒนาชุมชนอำเภอบางกล่ำ สถานศึกษา และผู้นำศาสนา ร่วมดำเนินการเพื่อขับเคลื่อนการป้องกัน เฝ้าระวัง และแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ หมู่ 1 ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด- 19 ในพื้นที่ จึงไม่สามารถดำเนินกิจกรรมบางส่วนได้ตามวัตถุประสงค์

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดอำเภอบางกล่ำ โดยชุมชนมีส่วนร่วม(CBTx)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้เสพ ผู้ติดสารเสพติดได้รับการจำแนกคัดกรอง และนำเข้าสู่การบำบัดรักษา ฟื้นฟู รับ-ส่งต่อและดูแลช่วยเหลืออย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องพิษภัยจากยาเสพติด และนำความรู้ไปถ่ายทอดผู้อื่นได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีกิจกรรมทางกายเพิ่มมากขึ้นและมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดอำเภอบางกล่ำ โดยชุมชนมีส่วนร่วม(CBTx) (2) เพื่อให้ผู้เสพ ผู้ติดสารเสพติดได้รับการจำแนกคัดกรอง และนำเข้าสู่การบำบัดรักษา ฟื้นฟู รับ-ส่งต่อและดูแลช่วยเหลืออย่างมีคุณภาพ (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องพิษภัยจากยาเสพติด และนำความรู้ไปถ่ายทอดผู้อื่นได้ (4) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีกิจกรรมทางกายเพิ่มมากขึ้นและมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำเวทีประชาคม และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน (2) ประชาสัมพันธ์ ประกาศเจตนารมณ์ต่อต้านยาเสพติด ทำ MOU ร่วมกับโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ ระบบสมัครใจ (3) ประชุมวางแผนกำหนดมาตรการทางสังคม (4) กิจกรรมให้ความรู้ (5) กิจกรรมคัดเลือกบุคคลต้นแบบที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด สร้างเครือข่ายและการจัดระบบการเฝ้าระวังให้กับชุมชนเพื่อความยั่งยืน (6) จัดทำเวทีประชาคม และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน (7) กิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกันให้ความรู้ เยาวชนและนักเรียน เรื่องพิษภัยจากยาเสพติด (8) ประชาสัมพันธ์ ประกาศเจตนารมณ์ต่อต้านยาเสพติด ทำ MOU ร่วมกับโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ ระบบสมัครใจ (9) ประชุมวางแผนกำหนดมาตรการทางสังคม (10) กิจกรรมเดินรณรงค์วันต่อต้านยาเสพติดโลก (11) ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายเรื่องพิษภัยจากยาเสพติด 1 (ครึ่งวันบ่าย) และคัดกรอง ค้นหา ผู้เสพและผู้ติดสารเสพติดในชุมชน เพื่อเข้าสู่กระบวนการบำบัด (12) กิจกรรมค่ายบำบัดผู้ป่วยยาเสพติดในชุมชน เพื่อเป็นการฟื้นฟูร่างกายจิตใจ กลับตัวกลับใจเป็นคนดีของสังคม (13) กิจกรรมคัดเลือกบุคคลต้นแบบที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด สร้างเครือข่ายและการจัดระบบการเฝ้าระวังให้กับชุมชนเพื่อความยั่งยืน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh