กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สำนักแต้ว


“ โครงการ 5ป 1ข ลดโรคไข้เลือดออก โรงเรียนบ้านเกาะค่าง ”

ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอุไรหัดเลาะ

ชื่อโครงการ โครงการ 5ป 1ข ลดโรคไข้เลือดออก โรงเรียนบ้านเกาะค่าง

ที่อยู่ ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5252-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มกราคม 2560 ถึง 31 ตุลาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ 5ป 1ข ลดโรคไข้เลือดออก โรงเรียนบ้านเกาะค่าง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สำนักแต้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ 5ป 1ข ลดโรคไข้เลือดออก โรงเรียนบ้านเกาะค่าง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ 5ป 1ข ลดโรคไข้เลือดออก โรงเรียนบ้านเกาะค่าง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5252-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มกราคม 2560 - 31 ตุลาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,005.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สำนักแต้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขเเละเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีเเนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ในอดีตที่ผ่านมา กลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70-75 เป็นผู้ป่วยในกลุ่มอายุ 5-14 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียนเเละการเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูผนสำหรับสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกในจังหวัดสงขลา นับตั้งเเต่วันที่ 1 ม.ค.-25 มี.ค. 2556 จ.สงขลา มีผู้ป่วยรวม 1543 ราย เสียชีวิต 6 ราย โดยจังหวัดสงขลามีอัตราป่วยสูงสุดของประเทศไทย (ณ วันที่ 11 มี.ค. 2556) ส่วนอำเภอที่มีอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกสูง 5 อันดับเเรกของจังหวัดสงขลา ได้เเก่ อำเภอหาดใหญ่, นาหม่อม, สะเดา, เมือง เเละ จะนะ ตามลำดับ กลุ่มอายุที่พบผู้ป่วยสูงสุดคือกลุ่มอายุ 10-14 ปี ร้อยละ 23.3 รองลงมาเป็นกลุ่มอายุ 5-9 ปี ร้อยละ 18.34 เเละกลุ่มอายุ 15-19 ปี ร้อยละ 16.33 ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนเเละนักศึกษา ถึงร้อยละ 62.47 โดยในปีนี้พบผู้ป่วยในกลุ่มเด็กโตเเละผู้ใหญ่มากขึ้น จึงขอให้เด็กโตเเละผู้ใหญ่เพิ่มความระมัดระวังเเละป้องกันไข้เลือดออกด้วย โดยเฉพาะการป้องกันยุงกัดให้มากขึ้นในระยะนี้พร้อมๆกับการร่วมทำลายลูกน้ำยุงลายทุกสัปดาห์ มาตรการการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการการควบคุมยุงพาหะนำโรค ซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เเละผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปเเบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ การจัดหาสารกำจัดลูกน้ำ การพ่นหมอกควันเเละสารเคมี การกำจัดเเหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ เเละสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด เเต่ในปัจจุบันพบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก ยังทวีความรุนเเรงเเละมีผู้ป่วยมากข้น ซึ่งจำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกันเเละรณรงค์เพื่อให้สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกกลับอยู่ในสภาวะที่ไม่รุนเเรง เเละเพื่อเป็นการป้องกันอย่างต่อเนื่อง จากเหตุการณ์ดังกล่าวนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพร่วมกับศูนย์สุขภาพโรงพยาบาลสะเดา ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อควบคุมเเละป้องกัน โรคไข้เลือดออกล่วงหน้าเเละทันท่วงทีที่เกิดโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะค่างมีความรู้ เเละมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 65
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
    2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะค่างมีความรู้ เเละมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการผ่านการประเมินหลังฝึกอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 65
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะค่างมีความรู้ เเละมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ 5ป 1ข ลดโรคไข้เลือดออก โรงเรียนบ้านเกาะค่าง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5252-1-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอุไรหัดเลาะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด