กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม


“ ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการชุมชนร่วมใจ ขจัดภัยวัณโรค ปี 2564 ”

ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนภสร สุริวงศ์ ผอ.รพ.สต.ท่าข้าม

ชื่อโครงการ ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการชุมชนร่วมใจ ขจัดภัยวัณโรค ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 17/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการชุมชนร่วมใจ ขจัดภัยวัณโรค ปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการชุมชนร่วมใจ ขจัดภัยวัณโรค ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการชุมชนร่วมใจ ขจัดภัยวัณโรค ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในอดีตที่ผ่านมา วัณโรคดูเหมือนจะสงบหรือลดลงในประเทศต่างๆ ทั่วโลก แต่ปัจจุบันวัณโรคได้กลับมาใหม่ เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญเช่นเดียวกันกับประเทศอื่นๆ อันเป็นผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ ซึ่งนอกจากจะทำให้จำนวนผู้ป่วยวัณโรคเพิ่มขึ้นแล้ว ยังอาจทำให้เชื้อวัณโรคดื้อยาหลายชนิดเพิ่มขึ้นด้วย
วัณโรคเป็นโรคติดต่อ เกิดจากเชื้อแบคทีเรียวัณโรค เป็นได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่ายกาย แต่โดยมากมักเป็นที่ปอด มักจะจับที่ปอดข้างหนึ่งก่อนแล้วลามไปอีกข้างหนึ่ง ผู้ป่วยวัณโรคในระยะแพร่เชื้อ 1 คน สามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้ 10-15 คนถ้าไม่ได้รับการรักษาภายในระยะเวลา 1-1 ½ ปี จะมีอัตราตายสูงถึงร้อยละ 30-50ภายในระยะเวลา 5 ปี ถ้าได้รับการรักษาถูกต้องจะหายจากโรค1ใน 3 ของประชากรโลกได้สัมผัสเชื้อวัณโรคในแต่ละปีมีประชากร 8 ล้านคนจะป่วยเป็นวัณโรค และ 2 ล้านคนเสียชีวิตอุบัติการณ์ของโรคในแต่ละปี อยู่ระหว่าง 41-356 คนต่อแสนประชากร สำหรับในเขตพื้นที่ของตำบลท่าข้ามจำนวนผู้ป่วย 5 ปีย้อนหลัง ( ปี2559 – ปี2563) ดังนี้ ปี 2559จำนวน 10 คน, ปี2560 จำนวน 7 คน ,ปี 2561 จำนวน 10 คนปี 2562 จำนวน8คน, ปี2563 จำนวน 7คนสำหรับปี 2564 มีผู้ป่วยวัณโรค จำนวน 3 ราย ซึ่งทั้ง 3 รายกำลังอยู่ระหว่างการรักษา(งานระบาดวิทยา: รพ.สต.ท่าข้าม ) วิธีการที่องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ประเทศต่างๆกว่า 100 ประเทศนำไปปฏิบัติได้ผลดี คือ การรักษาผู้ป่วยวัณโรคระยะแพร่เชื้อโดยมีพี่เลี้ยงคอยกำกับดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยาจนหายจากวัณโรค และไม่แพร่เชื้อต่อไปอีกวัณโรคเป็นเรื่องที่ชุมชนควรตระหนักและให้ความสำคัญ เพราะเชื้อวัณโรคสามารถติดต่อได้ในชุมชน ฉะนั้น องค์กรในชุมชนควรมีบทบาทร่วมในการเป็นพี่เลี้ยงกำกับดูแลการการกินยาต่อหน้า ซึ่งกระบวนการเป็นพี่เลี้ยงดูแลผู้ป่วยวัณโรคโดยองค์กรชุมชน เป็นรูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชน ที่เข้ามามีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของสมาชิกในชุมชน อันเป็นแนวทางหลักของการสาธารณสุขมูลฐาน และยังเป็นกระบวนการพัฒนาศักยภาพของชุมชนที่จะนำไปสู่การพึ่งตนเองที่ยั่งยืน ด้วยแรงบันดาลใจที่จะช่วยตนเองด้วยกำลังและความสามารถที่ชุมชนมีอยู่ ด้วยเหตุผลดังกล่าวเพื่อเป็นการควบคุมการแพร่ระบาดของวัณโรคในพื้นที่ตำบลท่าข้าม ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าข้าม จึงได้จัดทำโครงการ ชุมชนร่วมใจขจัดภัยวัณโรค ประจำปี 2564 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้สัมผัสร่วมบ้านและประชาชนทั่วไปมีความรู้และสามารถป้องกันตนเอง ข้อที่ 2 เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และเยี่ยมติดตามดูแลผู้ป่วยตามมาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ป้องกันโรควัณโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคร่วมบ้านทุกรายได้รับการx-ray ได้รับการวินิจฉัยการรักษาและได้รับการรักษาตามมาตรฐานจนหายขาดทุกราย 2. ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าในเรื่องวัณโรค และสามารถดูแลป้องกันตนเอง และครอบครัว ให้ห่างไกลจากวัณโรคได้
3. จำนวนผู้ป่วยวัณโรคลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้สัมผัสร่วมบ้านและประชาชนทั่วไปมีความรู้และสามารถป้องกันตนเอง ข้อที่ 2 เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และเยี่ยมติดตามดูแลผู้ป่วยตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรม ร้อยละ 80 มีความรู้เพิ่มขึ้น - ผู้มีอาการสงสัยได้รับการส่งต่อพบแพทย์ร้อยละ 100 - ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ ใหม่ทุกราย ได้รับการรักษาตามมาตรฐานจนครบกำหนดรักษาและหายขาด - ผู้ป่วยทุกรายได้รับการติดตามเยี่ยมดูแลแบบมีพี่เลี้ยงโดยอสม.จนครบตามเกณฑ์มาตรฐานการรักษา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1.  เพื่อให้ผู้สัมผัสร่วมบ้านและประชาชนทั่วไปมีความรู้และสามารถป้องกันตนเอง  ข้อที่ 2 เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และเยี่ยมติดตามดูแลผู้ป่วยตามมาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ป้องกันโรควัณโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการชุมชนร่วมใจ ขจัดภัยวัณโรค ปี 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนภสร สุริวงศ์ ผอ.รพ.สต.ท่าข้าม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด