กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง


“ โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชการในเด็ก 0-72 เดือน ”

ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชการในเด็ก 0-72 เดือน

ที่อยู่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 20/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชการในเด็ก 0-72 เดือน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชการในเด็ก 0-72 เดือน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชการในเด็ก 0-72 เดือน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ปัจจุบันสภาพของสังคมโลกได้เปลี่ยนแปลงไป การประกอบอาชีพได้เปลี่ยนจากการเกษตรหันไปทำงานโรงงานหรือบริษัทในตัวเมือง ต่างจังหวัด และประเทศใกล้เคียงอย่างมาเลเซียเป็นจำนวนมาก ทำให้การเลี้ยงดูเด็กเล็กต้องเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ถึงแม้ว่าเด็กที่มีอายุ 0-72 เดือน เป็นกลุ่มที่ความเจริญเติบโตสูงมากทั้งด้านร่างกายตลอดทั้งจิตใจ และมีพัฒนาการที่สูงกว่าในวัยอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเจริญเติบโตของสมองทั้งนี้ต้องได้รับการดูแลที่ดีจากครอบครัวอย่างต่อเนื่อง แต่จากการที่มารดาคลอดแล้วส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นผู้ดูแลเด็กเอง แต่จะให้ตากับยายดูแลเลี้ยงดูแทน ส่วนบิดามารดาจะไปทำงานโรงงานในตัวเมือง ต่างจังหวัด หรือประเทศใกล้เคียงอย่างมาเลเซีย ทำให้ไม่สามารถเลี่ยงบุตรได้เต็มที่ ซึ่งมีผลโดยตรงการได้รับสารอาหารที่ไม่เหมาะสมของเด็ก ส่งผลให้การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กล่าช้าได้ ในการดำเนินการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทองพบว่า ข้อมูลภาวะโภชนาการเด็ก 0-72 เดือน ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทอง งวดที่ 1 ปี 2563 และปี 2564 เด็กได้รับการชั่งน้ำหนักจำนวน ร้อยละ87.61 และ ร้อยละ94.84 ตามลำดับ และพบว่ามีน้ำหนักมากและค่อนข้างมากกว่าเกณฑ์อยู่ที่ ร้อยละ2.40 และ ร้อยละ2.8 ตามลำดับ น้ำหนักน้อยและค่อนข้างน้อยกว่าเกณฑ์อยู่ที่ ร้อยละ8.9และ ร้อยละ 8.64 ตามลำดับ ส่วนสูงเตี้ยและค่อนข้างเตี้ยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ15.65 และ ร้อยละ19.96  รูปร่างอ้วนและเริ่มอ้วน ร้อยละ2.17 และ ร้อยละ 2.029 ตามลำดับ รูปร่างผอมและค่อนข้างผอม ร้อยละ5.43 และ ร้อยละ 9.42 ตาลำดับ จากปัญหาพบว่าส่วนใหญ่เด็กที่มีปัญหาโภชนาการพบว่ามีสาเหตุมาจากผู้ปกครองขาดความรู้เรื่องโภชนาการ และการติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการไม่ต่อเนื่อง     เพื่อเป็นการเฝ้าระวังปัญหาดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและติดภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการอย่างจริงจัง เกิดกระบวนการเยี่ยมบ้านแบบมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อให้เด็กได้รับการช่วยเหลือ ส่งต่อ และดำเนินการแก้ปัญหาทางโภชนาการอย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ ตลอดจนสามารถหาแนวทางในการแก้ไข ปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เด็กอายุ 0 -72 เดือน มีน้ำหนักและส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์สูงดีสมส่วน
  2. 2.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงเรื่องการส่งเสริมโภชนาการ เป็นฐานให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ ในกิจกรรม “ครอบครัวโภชนาการ” แก่ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 40 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 ลงเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินปัญหาและพฤติกรรมการบริโภค
  3. กิจกรรมที่ 3 ติดตามลงเยี่ยมบ้านและจ่ายอาหารเสริมแก่เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ พร้อมชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก แล้วแปลผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์ อ้างอิง การเจริญเติบโตสำหรับเด็ก 0-5 ปี เดือนละ 2 ครั้ง
  4. กิจกรรมที่ 4 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เด็กอายุ 0 -72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังทางโภชนาการอย่างต่อเนื่อง
2 เด็กอายุ 0-72 เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับดูแลและแก้ไขปัญหา
3.ผู้ปกครอง ชุมชน ตระหนัก และมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาเด็กขาดสารอาหาร
4.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารตามวัย ของเด็ก 0-72 เดือน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เด็กอายุ 0 -72 เดือน มีน้ำหนักและส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์สูงดีสมส่วน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เด็กอายุ 0 -72 เดือน มีน้ำหนักและส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์สูงดีสมส่วน (2) 2.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงเรื่องการส่งเสริมโภชนาการ เป็นฐานให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ ในกิจกรรม “ครอบครัวโภชนาการ” แก่ผู้ปกครองเด็ก  0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 40 คน (2) กิจกรรมที่ 2 ลงเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินปัญหาและพฤติกรรมการบริโภค (3) กิจกรรมที่ 3 ติดตามลงเยี่ยมบ้านและจ่ายอาหารเสริมแก่เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ พร้อมชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก แล้วแปลผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์ อ้างอิง การเจริญเติบโตสำหรับเด็ก 0-5 ปี เดือนละ 2 ครั้ง (4) กิจกรรมที่ 4 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชการในเด็ก 0-72 เดือน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด