กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ


“ โครงการควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”

ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายกฤษฎา เพ็ชรพันธ์

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2491-1-25 เลขที่ข้อตกลง 41/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2491-1-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 800,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วันนี้ 24 พฤษภาคม 2564 จังหวัดนราธิวาส ออกประกาศปิด 3 อำเภอ “ตากใบ-สุคิริน-สุไหงปาดี” ป้องกันการแพร่ระบาดโควิดสายพันธุ์แอฟริกาใต้โดยผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส ในฐานะประธานคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดนราธิวาส และผู้กำกับการบริหารราชการในสถานการฉุกเฉินได้ออกคำสั่งจังหวัดนราธิวาส เรื่องปิดสถานที่ซึ่งเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ฉบับที่ 6 โดยประกาศดังกล่าวมีใจความสำคัญระบุว่า ให้ปิดตลาดและถนนคนเดินในเขตพื้นที่อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส ซึ่งเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นการชั่วคราว ประกอบด้วย ตลาดถนนคนเดิน บริเวณหน้าเขื่อนท่าพระยาสาย ถนนภูผาภักดี ตำบลบางนาค ,ตลาดถนนคนเดินบริเวณหน้าโรงเรียนอัตตัรกียะห์อิสลามียะห์ ตำบลบางนาค และตลาดน้ำยะกัง ตำบลบางนาค ซึ่งจากสถานการณ์ดังกล่าว เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือได้ติดตามการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาอย่างต่อเนื่องและเริ่มที่จะมีกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการกักตัวที่ศูนย์สถานที่กักกัน(Local Quaratine) ณ บ้านพัก รพ.สต.บ้านสะปอมแล้วจำนวนหนึ่ง และจากข้อมูลรายงานของศูนย์บริหารสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ณ วันที่ 7 มิถุนายน 256๔ มีรายงานการแพร่ระบาดในประเทศไทยผู้ป่วยยืนยันทั่วประเทศทุกจังหวัดแล้ว จำนวนรวม ๑๕๑,๐๒๓ ราย มีรายใหม่เพิ่มขึ้น ๒,๓๒๘ ราย อยู่ระหว่างการรักษา ๒,๗๐๔ ราย ผู้ป่วยในจังหวัดนราธิวาสสะสมรวม ๑,๐๙๐ ราย เสียชีวิตสะสม ๒ ราย

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 ขยายพื้นที่ออกไปในวงกว้าง ฝ่ายเลขานุการกองทุนฯ (กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ) ได้เล็งเห็นถึงสภาวะอันตรายที่จะเกิดกับประชาชน อีกทั้งเพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญคือ การป้องกันมิให้มีผู้สัมผัสเสี่ยงกับโรคฯ เพิ่มขึ้น โดยการหลีกเลี่ยงการไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยไอหรือจาม มีไข้สูง รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือ และการกักตัวในสถานที่รัฐจัดให้ ( State Quarantine or Local Quarantine=LQ)หรือกักตัวเอง รับผิดชอบตนเอง ครอบครัวและสังคมที่บ้าน (Home Quarantine)ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ที่ทุกคน และสถานประกอบการที่มีคนงานจำนวนมาก ๆ สามารถเข้าถึงการป้องกันการแพร่กระจายของโรค ไม่เฉพาะโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เท่านั้น รวมถึงโรคระบาดหรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงเห็นควรให้มีการบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ ชุมชน ผู้ประกอบการ กองกำลังต่าง ๆ และบริการสาธารณะต่าง ๆ จัดให้มีการดำเนินการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยง ให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังการป้องกันตนเองในพื้นที่จำกัดในเขตพื้นที่ ความรับผิดชอบของเทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นฯ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มีทรัพยากร/งบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. เพื่อให้เครือข่ายดูแลสุขภาพภาคประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อมในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคด้วยตนเองได้อย่างถูกวิธี
  4. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยจัดกิจกรรม Kick Off เคาะประตูบ้านต้านโควิดและรณรงค์ให้มาฉีดวัคซีน
  5. เพื่อจัดหาเครื่องมือ เคมีภัณฑ์ ที่เหมาะสมสำหรับใช้ควบคุมพื้นที่นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 เครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ ความพร้อมในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)และสามารถให้การดูแลแนะนำประชาชนในชุมชนได้อย่างถูกต้อง
    2 ทีมแกนนำเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน มีความรู้และทักษะในการถ่ายทอดองค์ความรู้ตลอดจนสามารถสอนวิธีการใส่และถอดหน้ากากอนามัยอย่างถูกต้อง
    3 ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเองและร่วมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 4 มีสถานที่กักตัวผู้ป่วยสงสัยในพื้นที่ที่มีความพร้อม 5 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการกักตัว มีอาหารสามมื้อและสิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันที่เหมาะสมและเพียงพอ 6 พื้นที่เสี่ยงได้รับการเฝ้าระวังโดยการฉีดพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อ และฉีดพ่นหลังจากที่ได้รับการกักกันตัวใน LQ ครบเวลาตามข้อปฏิบัติทางการแพทย์ 


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้มีทรัพยากร/งบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อให้เครือข่ายดูแลสุขภาพภาคประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อมในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคด้วยตนเองได้อย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    4 เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยจัดกิจกรรม Kick Off เคาะประตูบ้านต้านโควิดและรณรงค์ให้มาฉีดวัคซีน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    5 เพื่อจัดหาเครื่องมือ เคมีภัณฑ์ ที่เหมาะสมสำหรับใช้ควบคุมพื้นที่นที่
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีทรัพยากร/งบประมาณเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) เพื่อให้เครือข่ายดูแลสุขภาพภาคประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อมในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคด้วยตนเองได้อย่างถูกวิธี (4) เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยจัดกิจกรรม Kick Off เคาะประตูบ้านต้านโควิดและรณรงค์ให้มาฉีดวัคซีน (5) เพื่อจัดหาเครื่องมือ เคมีภัณฑ์ ที่เหมาะสมสำหรับใช้ควบคุมพื้นที่นที่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 64-L2491-1-25

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายกฤษฎา เพ็ชรพันธ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด