กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกัน (Local Quarantine) ในระดับท้องถิ่น
รหัสโครงการ 64-50115-05-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ
วันที่อนุมัติ 31 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 51,430.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฮายาตี ดาโอะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หอประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 7 เม.ย. 2564 7 เม.ย. 2564 51,430.00
รวมงบประมาณ 51,430.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยจังหวัดนราธิวาส ได้มีคำสั่งฯ ที่ 2146/2564 ลงวันที่ 11 เมษายน 2564 เรื่อง การประกาศสถานที่กักกัน (Local Quarantine) จำนวน 34 แห่ง เพื่อเป็นสถานที่กักกัน (Local Quarantine) เพื่อสังเกตอาการผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และมติที่ประชุม เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2564 เวลา 15.30 น ณ ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดนราธิวาส มีมติให้เตรียมการจัดตั้งสถานที่กักกันเพิ่มเติม ในระดับท้องถิ่น ตำบล หรือชุมชน
เพื่อรองรับผู้เข้ากักกันจากสถานการณ์การแพร่ระบาดระลอกใหม่ ภายในประเทศ ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ จึงได้จัดทำโครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกัน (Local Quarantine) ในระดับท้องถิ่นขึ้น พร้อมปรับปรุงสถานที่ให้มีความเหมาะสมตามหลักเกณฑ์และมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข รวมไปถึงการเตรียมการในการจัดหาอาหารสำหรับผู้กักกันไว้ให้พร้อม เพื่อเร่งดำเนินการป้องกัน ควบคุมการแพร่กระจายโรค และการสร้างสุขนิสัยส่วนบุคคลให้ถูกต้อง รวมไปถึงการให้ข้อมูลที่ถูกต้องและคัดกรองภาวะเสี่ยง
แก่ประชาชนในพื้นที่ ช่วยลดผลกระทบในด้านเศรษฐกิจและสังคมต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงใน LQ

ร้อยละของบุคคลที่มีความเสี่ยงได้รับการกักตัว

100.00 100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 มิ.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 คัดกรองและกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงในสถานที่กักกัน (Local Quarantine) 0 51,430.00 40,630.00
รวม 0 51,430.00 1 40,630.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 สามารถคัดกรองกลุ่มผู้ที่มีภาวะความเสี่ยง พร้อมนำไปสู่ระบบการรักษาตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขต่อไป
2 สามารถป้องกัน ควบคุมการแพร่ และการระงับการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลกาวะได้อย่างมีสิทธิภาพ 3 สร้างความรู้ความเข้าใจให้ประชาชนตระหนักถึงการป้องกันตนเอง และบุคคลในครอบครัว 4 สามารถบูรการการทำงานร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ของภาครัฐและเอกชนได้อย่างรวดเร็ว ตามนโยบายของภาครัฐในสภาวะสถานการณ์ฉุกเฉิน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2564 00:00 น.