กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ทอม


“ โครงการส่งเสริมการกำจัดลูกน้ำยุงลาย แก้ปัญหาโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2564 ”

ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางชฎาพร ศรีธรรมการ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการกำจัดลูกน้ำยุงลาย แก้ปัญหาโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5212-2-03 เลขที่ข้อตกลง 7/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการกำจัดลูกน้ำยุงลาย แก้ปัญหาโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ทอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการกำจัดลูกน้ำยุงลาย แก้ปัญหาโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการกำจัดลูกน้ำยุงลาย แก้ปัญหาโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5212-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ทอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ โรคชิคุนกุนยา (โรคไข้ปวดข้อยุงลาย) โรคไข้มาลาเรีย โรคเท้าช้าง โรคไข้สมองอักเสบ ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากยุงเป็นพาหะทั้งสิ้น โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยาเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค พบผู้ป่วยจำนวนมากในช่วงฤดูฝน เนื่องจากช่วงฤดูฝน น้ำฝนสามารถขังอยู่ในภาชนะต่างๆ ได้ เพียงพอที่จะทำให้ยุงลายสามารถวางไข่และเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยได้ ทำให้มีประชากรยุงลายเพิ่มมากขึ้น แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย อาทิเช่น ขยะ ถุงพลาสติก กะลา  ยางรถยนต์ ฯลฯ และการเจริญของบ้านเมือง การคมนาคม ทำให้ผู้ป่วยไปรับเชื้อโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยามาจากพื้นที่อื่นได้ โรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา เป็นโรคติดต่อที่มีความรุนแรง ถึงขั้นเสียชีวิตได้หากได้รับการรักษาไม่ทันเวลา หรือรับการรักษา    ที่ไม่ถูกต้องและมีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคม     ประกอบกับข้อมูลรายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาอำเภอบางกล่ำ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563 – 31 ธันวาคม 2563    มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก จำนวน 45 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 144.72 ต่อประชากรแสนคน โดยเฉพาะตำบลแม่ทอมพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 153.76 ต่อแสนประชากร ซึ่งจะเห็นได้ว่าอัตราการเกิดโรคดังกล่าวยังเป็นปัญหา    ที่สำคัญ และอัตราป่วยเกินเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด คืออัตราป่วยไม่เกิน 50ต่อประชากรแสนคน อีกทั้งการระบาดของโรคชิคุณกุนย่า ต้องมีการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง ปัญหาดังกล่าวต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เนื่องจากหากมีการเกิดโรคนี้ขึ้นแล้วอาจจะมีการระบาดออกไปอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว ซึ่งจะส่งผลกระทบทั้งทางด้านสุขภาพร่างกายและจิตใจ รวมทั้งทางด้าน เศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างมาก ดังนั้นการดำเนินการยับยั้งการระบาดของโรค การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง    ก็จะทำการระบาดของโรคดังกล่าวลดน้อยลงหรือยังยั้งการเกิดโรคดังกล่าวไม่ให้แพร่ระบาดไปในวงกว้าง ก็จะทำให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
  2. เพื่อหาปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ในหมู่บ้าน
  3. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงและลดการแพร่ระบาดโรคโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ในหมู่บ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานวางแผนดำเนินกิจกรรม
  2. กิจกรรม​ค้นหา​ปัจจัย​เสี่ยงของ​การ​เกิด​โรค
  3. การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
  4. ติดตามประเมินผลโครงการ
  5. ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินกิจกรรม
  6. กิจกรรมการค้นหาปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค การสำรวจลูกน้ำยุงลาย
  7. การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
  8. กิจกรรม 1 day มาจัดการแหล่งขยะ ลดยุงกันเถอะ
  9. ติดตามประเมินผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,125
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ในหมู่บ้าน

  2. ลดการระบาดของโรคโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินกิจกรรม

วันที่ 25 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินกิจกรรม

 

0 0

2. การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง

วันที่ 27 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงและกำจัดลูกน้ำยุงที่อาคารบ้านเรือนโดยเจ้าของบ้านและมี อสม.เป็นพี่เลี้ยงคอยแนะนำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-มีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย โดยการควำ่ภาชนะต่าง ๆ ที่มีน้ำขังและใส่ทรายอะเบทในแหล่งที่มีน้ำขัง -ทำให้ลดการระบาดของโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ไม่มีโรคไข้เลือดออกระบาด

 

45 0

3. กิจกรรม 1 day มาจัดการแหล่งขยะ ลดยุงกันเถอะ

วันที่ 10 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม 1 day มาจัดการแหล่งขยะ ลดยุงกันเถอะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรม 1 day มาจัดการแหล่งขยะ ลดยุงกันเถอะ โดยมีการชวนกลุ่มเครือข่ายละผู่ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และัดการขยะในพื้นที่ปรับภูมิทรรศไม่ให้เป็นแหล่งก่อเชื้อโรค

 

0 0

4. ติดตามประเมินผลโครงการ

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการติดตามประเมินผลโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ)
0.10 0.10

 

2 เพื่อหาปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : ผลการสำรวจมีความสำเร็จตามเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
90.00

 

3 เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงและลดการแพร่ระบาดโรคโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : สามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายได้ 100 %
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2125
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,125
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (2) เพื่อหาปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ในหมู่บ้าน (3) เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงและลดการแพร่ระบาดโรคโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา และโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ในหมู่บ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานวางแผนดำเนินกิจกรรม (2) กิจกรรม​ค้นหา​ปัจจัย​เสี่ยงของ​การ​เกิด​โรค (3) การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง (4) ติดตามประเมินผลโครงการ (5) ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินกิจกรรม (6) กิจกรรมการค้นหาปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค การสำรวจลูกน้ำยุงลาย (7) การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง (8) กิจกรรม 1 day มาจัดการแหล่งขยะ ลดยุงกันเถอะ (9) ติดตามประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการกำจัดลูกน้ำยุงลาย แก้ปัญหาโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2564

รหัสโครงการ 64-L5212-2-03 รหัสสัญญา 7/2564 ระยะเวลาโครงการ 15 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ให้ความรู้ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกแก่คนในพื้นที่

ข้อมูลรายละเอียดโครงการ และภาพถ่ายการทำกิจกรรม

ประชาชนเมื่่อได้รับความรู้สามารถนำไปปฏิบัติในครัวเรือนอย่างต่อเนื่องและสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่สมาชิกในครัวเรือนและ่ครัวเรือนใกล้เคียงได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

การแนะนำขั้นตอนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

ภาพกิจกรรมการลงพื้นที่ให้ความรู้แก่ประชาชนในตำบล

การจัดกิจกรรมต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

การทำงานเป็นทีมแบ่งหน้าที่ในการให้ความรู้ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

ข้อมูลรายละเอียดโครงการ/ภาพถ่ายการทำกิจกรรม

การจัดกิจกรรมต่อเนื่องและให้ความรู้ใหม่ ๆ แก่ประชาชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย การรักษาความสะอาดและปรับปรุงบริเวณบ้านให้มีความเป็นระเบียบสวยงาม ไม่มีพื้นที่สำหรับเป็นแหล่งพันธุ์ยุงลาย

ภาพถ่ายการทำกิจกรรม

ดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องทุกปี

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

การป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก

ข้อมูลรายละเอียดโครงการ

การดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกบ้านของแต่ละครัวเรือนให้มีความสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย

ข้อมูลรายละเอียดโครงการ ภาพถ่ายการทำกิจกรรม

การดูแลสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกบ้านของแต่ละครัวเรือน อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย การจัดการขยะ ภาชนะที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

ข้อมูลรายละเอียดโครงการ ภาพถ่ายการทำกิจกรรม

การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ และจัดการขยะอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

การทำกิจกรรม Big clean day ร่วมกันระหว่าง ชมรม อสม. ผู้นำท้องที่ และ อบต.แม่ทอม จัดการขยะลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง

ภาพถ่ายการทำกิจกรรม

การทำกิจกรรม Big clean day ต่อเนื่องเป็นประจำทุก ๆ เดือน และเพิ่มกลุ่มที่เข้ามาทำกิจกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

การแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้องมีการเรียนรู้ว่าควรแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ คือการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ซึ่งทำให้ไม่เกิดโรค

ข้อมูลรายละเอียดโครงการ ภาพกิจกรรม

การบริหารจัดการต่อยอดโครงการให้มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

การร่วมดำเนินกิจกรรมร่วมกันระหว่างชมรม อสม.กับบุคคลในพื้นที่ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก อบต. กลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน ในการจัดการแหล่งเพาะพันธ์ยุง

ภาพการทำกิจกรรม

การใช้ประโยชน์ทุนอื่น ๆ ในชุมชน นอกจากทรัพยากรบุคคล เช่น การใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการจัดทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงและการจัดการขยะในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

ภาพการทำกิจกรรม

ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

การลงพื้นที่ของ อสม.ในการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ด้วยตนเอง และร่วมกับ อสม.อื่นในชมรม ในครัวเรือนและที่สาธารณะประโยชน์

ภาพการทำกิจกรรม

การดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องทุกปี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

การร่วมมือกับอสม.ในชมรมร่วมกันสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงในสถานที่สาธารณะต่าง ๆ ในตำบล

ภาพการทำกิจกรรม

การดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องทุกปี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

การร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงในแต่ละครัวเรือน ซึ่งทำได้ด้วยตนเองโดยอาศัยวิธีการที่ไม่ยากและโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น

ภาพการทำกิจกรรม

การดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องทุกปี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

อสม.แต่ละหมู่บ้านได้มีการช่วยเหลือกันร่วมกันสำรวจและทำลายแหล่างเพาะพันธุ์ยุงร่วมกัน

ภาพการทำกิจกรรม

การดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องทุกปี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

การที่ อสม.ร่วมกันตัดสินใจแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก โดยใช้การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ ไม่ใช่จากปลายเหตุ ได้แก่ การสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง

ภาพการทำกิจกรรม

การดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องทุกปี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมการกำจัดลูกน้ำยุงลาย แก้ปัญหาโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5212-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางชฎาพร ศรีธรรมการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด