กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกรือเซะ
รหัสโครงการ 13/2564
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกรือเซะ
วันที่อนุมัติ 9 มิถุนายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2564 - 15 พฤษภาคม 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 24,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ (นางฮายาตี แวดือเร๊ะ) ครูชำนาญการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกรือเซะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ค. 2564 15 พ.ค. 2565 24,000.00
รวมงบประมาณ 24,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันรัฐบาลได้ดำเนินงานเน้นให้ความสำคัญในด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กปฐมวัย ภาวการณ์เจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กปฐมวัยจึงเป็นตัวชี้วัดและบ่งบอกภาวะสุขภาพและภาวะโภชนาการที่ดีตัวหนึ่ง การติดตามและเฝ้าระวังทางโภชนาการเป็นกลยุทธ์สำคัญที่ใช้ในการดำเนินการ แก้ปัญหาภาวะโภชนาการ การสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงของภาวะโภชนาการ รวมทั้งการเข้าใจแนวทางปฏิบัติทางโภชนาการ และตระหนักถึงความสำคัญของโภชนาการที่ดีของสุขภาพ และใช้ถือปฏิบัติในชีวิตประจำวันโดยมุ่งเน้นให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ร่วมมือร่วมใจกันช่วยเหลือเด็กในเรื่องอาหารและโภชนาการให้เด็กได้มีคุณภาพที่ดีขึ้น แต่เนื่องจากเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกรือเซะ ขณะนี้ได้ประสบกับปัญหาเด็กมีภาวะทุพโภชนาการจำนวนหลายคนทำให้มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก ดังนั้นทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกรือเซะจึงมีความจำเป็นที่จะพัฒนาเด็กกลุ่ม ดังกล่าวให้มีภาวะโภชนการที่ดีขึ้น โดยการจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาให้กับเด็กที่มีปัญหาดังกล่าว เพื่อให้เด็กมีภาวะโภชนาการปกติ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์ พร้อมที่จะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียนให้มีภาวะโภชนาการปกติ 2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน 3. เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการเอาใจใส่ของเด็กก่อนวัยเรียน 4. เพื่อให้ชุมชนได้เกิดการเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการส่งเสริมโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 24,000.00 0 0.00
1 ก.ค. 64 - 15 พ.ค. 65 โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกรือเซะ 0 24,000.00 -

1.ขั้นเตรียมการ 1.1 สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกรือเซะ 1.2 ศึกษาข้อมูลทางด้านครอบครัวที่มีผลต่อสุขภาพของเด็ก 1.3 จัดทำโครงการเพื่อเสนออนุมัติ 1.4 ขออนุมัติโครงการต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตันหยงลุโละ     2.ขั้นดำเนินการ
        2.1 จัดอบรมให้ความรู้ทางโภชนาการและชี้แจงโครงการ แก่ผู้ปกครอง , กลุ่มแม่บ้านและ             ผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
        2.2 เก็บข้อมูลน้ำหนัก ส่วนสูงของเด็กนักเรียนเพื่อจัดเก็บข้อมูลนักเรียน       2.3 จัดโครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกรือเซะ         2.4 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ         2.5 จัดให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับอาหารเช้าทุกวัน โดยมีผู้ดูแลเด็กเป็นผู้ควบคุม         2.6 เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยติดตามผลการดำเนินงานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเดือนละ 1 ครั้ง         2.7 สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กก่อนวัยเรียนที่มีเสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ
  2. เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย 3.ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านโภชนาการในเด็ก 0 - 6 ปี
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2564 14:29 น.