กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกแห่งชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสารจอด ตำบลหนองโพนงาม อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ ๒๕๖3

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองโพนงาม


“ โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกแห่งชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสารจอด ตำบลหนองโพนงาม อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ ๒๕๖3 ”

ตำบลหนองโพนงาม อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสารจอด

ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกแห่งชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสารจอด ตำบลหนองโพนงาม อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ ๒๕๖3

ที่อยู่ ตำบลหนองโพนงาม อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัด ชัยภูมิ

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกแห่งชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสารจอด ตำบลหนองโพนงาม อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ ๒๕๖3 จังหวัดชัยภูมิ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองโพนงาม อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองโพนงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกแห่งชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสารจอด ตำบลหนองโพนงาม อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ ๒๕๖3



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกแห่งชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสารจอด ตำบลหนองโพนงาม อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ ๒๕๖3 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองโพนงาม อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,782.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองโพนงาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิตเป็นจุดเริ่มต้นในการปูพื้นฐานของชีวิตคนไทยสู่อนาคตที่ดี นับตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงห้าขวบปีแรกของชีวิต เป็นช่วงที่โครงสร้างของสมองมีการพัฒนาสูงสุด ส่งผลต่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ฉลาด พัฒนาการสมวัย สูงสมส่วน แบ่งเป็น 2 ช่วงวัยคือ 1,000 วันแรกช่วง 0-2 ปี และ 1,500 วัน ช่วง 3-5 ปี ช่วงวัยแรกคือ๒๗๐ วันแรก ระหว่างการตั้งครรภ์ เป็นช่วงสำคัญของการสร้างเซลล์สมองควบคู่กับการสร้างเส้นใยประสาทเร็วที่สุด เด็กจึงควรได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนในช่วงดังกล่าวแม่ควรกินอาหารที่ดีมีประโยชน์ เช่น ตับ ไข่ ปลา ผัก ผลไม้ นมสดรสจืด โดยเสริมไอโอดีน เหล็ก โฟลิก ต่อมา ๑๘๐ วัน (แรกเกิด - ๖ เดือน) เป็นช่วงที่ร่างกายและสมองของเด็กเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว การได้รับนมแม่ตั้งแต่ชั่วโมงแรกของชีวิตและการดื่มนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือนเต็มรวมถึงการโอบกอดและเล่นกับลูกส่งผลให้ลูกเจริญเติบโตมีพัฒนาการทางด้านร่างกายและอารมณ์ดี และ ๕๕๐ วัน (อายุ ๖ เดือน – ๒ ปี) เน้นการเป็นเด็กฉลาด มีพัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน โดยการให้อาหารที่เหมาะสมตามวัย ควบคู่การดื่มนมแม่ให้นานที่สุด ส่งเสริมครอบครัวอบอุ่น เข้มแข็ง ด้วยกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า เพิ่มความฉลาด เฝ้าดูฟันและลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ซึ่งมีส่วนสำคัญทำให้ทารกพัฒนาเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพสูงช่วงวัยที่ 2 ประกอบด้วยมาตรฐานหลัก 3 ด้าน ด้านที่ 1 การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กประถมวัย ด้านที่ 2 ครู/ผู้ดูแลเด็ก ให้การดูแลจัดประสบการเรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย และด้านที่ 3 คุณภาพของเด็กประถมวัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดบริการและความต่อเนื่องของการพัฒนาเด็กปฐมวัย จึงเป็นการบูรณาการเชื่อมโยงตลอดช่วงชีวิตทั้งมิติบุคคล ครอบครัว ชุมชน รวมถึงการดูแลเด็กและครอบครัวแบบองค์รวม พร้อมทั้งเป็นหน่วยงานประสานการส่งต่อเด็กที่มีความเสี่ยงหรือป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตแม่และเด็กในพื้นที่รับผิดชอบ
ผลการดำเนินงานคุณภาพด้านแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสารจอดข้อมูลจาก HDC ปีงบประมาณ ๒๕๖2พบประเด็นเกี่ยวข้องที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีนร้อยละ 100 และหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ ๑๒ สัปดาห์ร้อยละ 100 จึงมีความจำเป็นที่ต้องจัดอบรมศักยภาพ อสม. ผู้นำชุมชน CFT ขึ้นเพื่อค้นหาและติดตามหญิงตั้งครรภ์ในชุมชนมาฝากครรภ์ให้เร็วที่สุด ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสารจอด จึงได้จัดทำโครงการ มหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกแห่งชีวิต ปีงบประมาณ ๒๕๖3 เพื่อให้เกิดคลินิกฝากครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีความสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ พัฒนาการสมวัย ทำให้เด็กเติบโตเป็นคนที่มีศักยภาพในชุมชน เก่งดี มีสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๘.๑ การฝากครรภ์คุณภาพ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ มากกว่าร้อยละ ๖๐ ๘.๒ การฝากครรภ์ครั้งแรกน้อยกว่าหรือเท่ากับ ๑๒ สัปดาห์ มากกว่าร้อยละ ๖๐ ๘.๓ หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม มากกว่าร้อยละ ๘๐ ๘.๔ หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่ขึ้นทะเบียนโครงการ ได้ดื่มนมกล่องรสจืด อย่างน้อย ๑ กล่อง/วัน นาน ๙๐ วัน ร้อยละ ๑๐๐ ๘.๕ ทารกแรกเกิดน้ำหนักมากกว่า ๒,๕๐๐ กรัมขึ้นไป มากกว่าร้อยละ ๘๐ ๘.๖ เด็กแรกเกิด - ๒ ปี มีพัฒนาการสมวัยในช่วง ๑๐๐๐ วันแรกของชีวิต มากกว่าร้อยละ ๘๐ ๘.๗ หญิงตั้งครรภ์ เด็กแรกเกิด - ๒ ปี และครอบครัวมีความรู้การดูแลสุขภาพตนเอง ๘.๘ ครอบครัว ชุมชน และภาคีเครือข่ายในตำบล มีส่วนร่วมในกิจกรรม การดูแลและเอาใจใส่ต่อสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด - ๒ ปี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกแห่งชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสารจอด ตำบลหนองโพนงาม อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ ๒๕๖3 จังหวัด ชัยภูมิ

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสารจอด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด