กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองฮี


“ มาตราการป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2564 ”

จังหวัดนครพนม

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ มาตราการป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2564

ที่อยู่ จังหวัดนครพนม จังหวัด นครพนม

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"มาตราการป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2564 จังหวัดนครพนม" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนครพนม

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองฮี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
มาตราการป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " มาตราการป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนครพนม รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองฮี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

๑. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาชั้นพื้นฐาน ได้กำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอน รองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID – 19) ให้สถานศึกษาสามารถ เลือกรูปแบบการจัดการเรียนการสอนได้ตามความเหมาะสมตามบริบทของพื้นที่ และสถานการณ์ระดับความรุนแรงการระบาดของโรค ๒. สถานศึกษาดำเนินการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVD - 19) ในสถานศึกษา โดยสอดคล้องตามคู่มือ "การเฝ้าระวังติดตาม และแผนเผชิญเหตุรองรับการแพร่ระบาดของโรคโควิด - ๑๙ ในสถานศึกษา" (เล่มปกสีชมพู ทั้งนี้ ให้สถานศึกษาจัดทำและชักซ้อมแผนเผชิญเหตุ เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา๒๐๑๙ (COVID - 19) ในสถานศึกษา ๓. สถานศึกษาดำเนินการตามมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19) ได้แก่มาตรการหลัก และ ๖ มาตรการเสริม รองรับการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19) โดยเน้นย้ำให้ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งผู้มาติดต่อในสถานศึกษาทุกคน ใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าตลอดเวลา เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19) ดังนี้ ๓.๑ มาตรการหลัก (DMHT-RC) ๖ ประการ ได้แก่ เว้นระยะห่าง (Distancing) เว้นระยะห่าง ระหว่างบุคคล อย่างน้อย ๑ - ๒ เมตร ใส่หน้ากาก (Mask Wearing ใส่หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่ในสถานศึกษา ล้างมือ (Hand Washing) ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ นาน ๒๐ วินาที หรือใช้เจลแอลกอฮอล์คัดกรองวัดไข้ (Testing) วัดไข้ สังเกตอาการ ซักประวัติผู้สัมผัสเสียงทุกคนก่อนเข้าสถานศึกษา ลดการแออัด(Reducing) ลดการเข้าไปในพื้นที่เสี่ยง กลุ่มคนจำนวนมาก และทำความสะอาด (Cleaning) บริเวณพื้นผิวสัมผัสร่วม อาทิ ที่จับประตู ลูกบิดประตู ราวบันใด ปุ่มกดลิฟต์ เป็นต้น ๓.๒ มาตรการเสริม (SSET-CQ) ๖ ประการ ได้แก่ ดูแลตนเอง (Self care) ดูแลใส่ใจ
ปฏิบัติตน มีวินัย รับผิดชอบตัวเอง ปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด ใช้ซ้อนกลางส่วนตัว (Spoon) ใช้ช้อนกลางของตนเองทุกครั้ง เมื่อต้องกินอาหารร่วมกัน ลดสัมผัสร่วมกับผู้อื่น กินอาหารปรุงสุกใหม่ (Eating) อาหารปรุงสุกใหม่ร้อน ๆกรณีอาหารเก็บเกิน ๒ ชั่วโมง ควรนำมาอุ่นให้ร้อนทั่วถึง ก่อนกินอีกครั้งไทยชนะ (Thai chana) ลงทะเบียนตามที่รัฐกำหนดด้วย app ไทยชนะ หรือลงทะเบียนบันทึกการเข้า - ออกอย่างชัดเจน สำรวจตรวจสอบ (Check) สำรวจบุคคล นักเรียน กลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง เพื่อเข้าสู่กระบวนการคัดกรอง และ กักกันตัวเอง (Quarantine) ๑๔ วัน เมื่อเข้าไปสัมผัสหรืออยู่ในพื้นที่เสี่ยงที่มีการระบาดของโรค ดังนั้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรควิดในโรงเรียน ให้เป็นไปตาม“คู่มือการปฏิบัติ สําหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19” จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโควิดในโรงเรียน ให้เป็นไปตาม มาตราการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 (COVID 19) ของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. มาตราการป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2564

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 57
กลุ่มวัยทำงาน 8
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ทำให้สามารถเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโควิดในโรงเรียน ให้เป็นไปตาม คู่มือการปฏิบัติ สำหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโควิดในโรงเรียน ให้เป็นไปตาม มาตราการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 (COVID 19) ของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 57
กลุ่มวัยทำงาน 8
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโควิดในโรงเรียน ให้เป็นไปตาม มาตราการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19  (COVID 19) ของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) มาตราการป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2564

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


มาตราการป้องกันและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2564 จังหวัด นครพนม

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด