กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอนร่วมใจขับเคลื่อนศูนย์กักกัน และศูนย์พักคอย ปี 2565
รหัสโครงการ 2564-L5221-5-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
วันที่อนุมัติ 27 กันยายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 27 กันยายน 2564 - 30 เมษายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 พฤษภาคม 2565
งบประมาณ 99,675.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล
พี่เลี้ยงโครงการ นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.807136,100.358119place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 29 ก.ย. 2564 30 เม.ย. 2565 99,675.00
รวมงบประมาณ 99,675.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 78 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 274 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 96 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 73 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1257 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา
90.00
2 จำนวนจิตอาสาและอสม.(คน)ที่สามารถมาช่วยเหลือคนในชุมชนได้
50.00
3 ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
80.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019”เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลัน ปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและพบว่าเป็นเชื้อไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) สถานการณ์ติดเชื้อไวรัสโคโรนาไวรัส หรือ โควิด-19 ระลอกที่สามตั้งแต่เดือนเมษายนที่ผ่านมาพบว่ามีแนวโน้มทวีความรุนแรงและพบการระบาดในวงกว้างมากขึ้น จำนวนมีผู้ติดเชื้อรายใหม่วันละ 10,000 กว่ารายต่อวัน ประชาชนทั่วไปได้รับการฉีดวัคซีนไม่ถึงร้อยละ 70 ขณะนี้มีมาตรการจากภาครัฐเข้มงวดลดการสัญจร หรือลดการทำกิจกรรมของประชาชนด้วยการปิดเมืองหรือ Lockdown แต่ยังไม่สามารถลดจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ได้ ส่งผลให้เกินศักยภาพของระบบสาธารณสุขปกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจำนวนเตียงไม่เพียงพอสำหรับการรักษาตัวผู้ป่วย เมื่อเกิดสถานการณ์ระบาดที่รุนแรง ผู้ติดเชื้อจะถูกปฏิเสธและต้องรอคอยอยู่ที่บ้านและทำให้คนใกล้ชิดต้องติดเชื้อต่อๆกัน และขยายเข้าสู่ชุมชนในวงกว้างมากขึ้น ดังนั้น การพัฒนาระบบโรงพยาบาลสนามเพื่อพักคอยเตียง หรือดูแลผู้ป่วยโควิดแก่คนในชุมชน(Community Isolation & Home Isolation) จึงเป็นทางออกเพื่อการรับมือสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 เป็นสถานที่สำหรับรับผู้เดินทางมาจากจังหวัดเสี่ยง ผู้ติดเชื้อหรือผู้ติดเชื้อกลับมากักตัวจากการรักษาที่โรงพยาบาล

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชน

จำนวนจิตอาสาและอสม.(คน)ที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชนเพิ่มขึ้น

50.00 80.00
2 เพื่อให้มีครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา ลดลง

ร้อยละของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ทั้งทางกาย จิต สังคม และปัญญาลดลง

90.00 20.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 166 99,675.00 5 44,160.00
20 - 30 ก.ย. 64 จัดหาสารเคมีและวัสดุอุปกรณ์ในการทำความสะอาดศูนย์กักกัน และศูนย์พักคอย 10 1,800.00 1,800.00
23 ก.ย. 64 - 29 ต.ค. 64 ประชุมผู้นำชุมชน พนักงานและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 16 0.00 0.00
23 ก.ย. 64 - 31 ต.ค. 64 จัดหาเครื่องมือทางการแพทย์สำหรับการปฏิบัติงาน และการปรับปรุงศูนย์กักกัน และศูนย์พักคอย 10 19,980.00 15,965.00
1 ต.ค. 64 - 30 พ.ย. 64 การคัดกรองบุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้่อโควิด-19 100 21,400.00 7,000.00
1 ต.ค. 64 - 30 พ.ย. 64 ค่าตอบแทน และวัสดุทางการแพทย์ และวัสดุอุปกรณ์สำหรับการปฏิบัติงานสนับสนุนศูนย์กักกัน และศูนย์พักคอย 30 56,495.00 19,395.00

1.สำรวจสถานที่ในการจัดตั้งศูนย์ 2.ประชุมรับฟังความคิดเห็นในการจัดตั้งศูนย์ของประชาชนในพื้นที่ 3.ทำความสะอาดและปรับปรุงอาคารสถานที่ 4.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ 5.ดำเนินการโครงการ 6.สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีผลบวกติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้รับการคัดกรองด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น(Antigen -Test-Kit) และได้รับการดูแลรักษาผ่านโรงพยาบาลสนามเพื่อการพักคอยเตียง Community Isolation& Home Isolation

  1. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?
    ประชาชนมีผลบวกติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้รับการคัดกรองด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น(Antigen -Test-Kit) และได้รับการดูแลรักษาผ่านโรงพยาบาลสนามเพื่อการพักคอยเตียง Community Isolation& Home Isolation
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 มิ.ย. 2564 00:00 น.