กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่


“ จากใจคนอาสา สู่การส่งเสริมสุขภาพจิต ชุมชนบ้านหัวควน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2564 ”

ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางภคปภา เพชรขวัญ

ชื่อโครงการ จากใจคนอาสา สู่การส่งเสริมสุขภาพจิต ชุมชนบ้านหัวควน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3336-02-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"จากใจคนอาสา สู่การส่งเสริมสุขภาพจิต ชุมชนบ้านหัวควน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
จากใจคนอาสา สู่การส่งเสริมสุขภาพจิต ชุมชนบ้านหัวควน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " จากใจคนอาสา สู่การส่งเสริมสุขภาพจิต ชุมชนบ้านหัวควน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3336-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 กรกฎาคม 2564 - 30 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ท่ามกลางสถานการณ์covid-19ทั้งแพทย์ พยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ ผู้ป่วย และทุกคนล้วนมีความเครียดและความกังวลใจ เราจะช่วยกันรับมือ ดูแลจิตใจ และผ่านวิกฤตินี้ไปด้วยกันอย่างไร ความเครียดเป็นกลไกโดยธรรมชาติที่ช่วยให้มนุษย์เตรียมตัววางแผน และรับมือกับสถานการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถ้ามีใครสักคนที่ไม่รู้สึกเครียด ไม่กลัวติดเชื้อ ไม่สนใจว่าจะต้องปฏิบัติตัวอย่างไร ไม่ฟังการประกาศจากรัฐบาล กลุ่มนี้ถือว่าผิดปกติและอาจนำพาไปสู่ความเสี่ยงมากมายทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ดังนั้นการที่รู้สึก เครียด กังวล กลัว ตื่นตระหนกนั้นถูกต้องแล้ว และควรจะเป้นแบบนั้นเพื่อที่ทุกคนและควรจะเป็นแบบนั้นเพื่อที่ทุกคนจะได้ขวนขวายหาความรู้หาข้อมูลมาประกอบการตัดสินใจ มีการวางแผน และเตรียมการอย่างถูกวิธี สำคัญคือคำจำนวนมากไม่ตระหนักว่ามีความผิดปกติด้านอารมณ์เมื่อไม่รู้ตัวก็ไม่ได้จัดการอย่างถูกต้อง จนอาจส่งผลกระทบกับประสิทธิภาพในการทำงาน สมาธิไม่ดี ความเครียดสะสมยังอาจนำไปสู่การตัดสินใจผิดพลาดนำชีวิตดิ่งลงได้โดยง่าย
อาสาสมัตรสาธ่รณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นกลุ่มที่มีความใกล้ชิดประชาชนมากที่สุดและมีบทบาทสำคัยอย่างยิ่งในการส่งเสริมดูแลสุขภาพประชาชน เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพทั้งในระดับชุมชนและระดับหมู่มากหาก อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีความรู้ ทักษะ ในการประเมินสุขภาพจิต ประเมินความเครียด และจัดการกับความเครียดแล้วและสามารถถ่ายทอดความรู่สู่ชุมชนได้แล้ว ก็จะสามารถประเมินสุขภาพจิตรายบุคคลและชุมชนได้ ทั้งยังสามารถวางแผน แก้ไขและจัดการสุขภาพจิตของคนใสชุมชนได้ คณะกรรมการ ชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญจึงได้จัดโครงการ จากใจ อสม สู่การส่งเสริมสุขภาพจิตชุมชน บ้านหัวควน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2564ขึ้น เพื่อให้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีความรู้ความสามารถในการส่งเสริมสุขภาพจิตชุมชนและเพื่อให้คนในชุมชนสามารถปฏิบัติตนแก้ไขปัญหาและจัดการกับความเครียดได้อย่างถูกวิธี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องสุขภาพจิตในชุมชน
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย สามารถคัดกรองประเมินภาวะด้านสุขภาพจิตได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถแนะนำวิธีปฏิบัติตนในการแก้ไขปัญหาและขจัดความเครียดแ่ก่กลุ่มเสี่ยงได้อย่างถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำทะเบียนกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้ด้อยโอกาส
  2. จัดกิจกรรม จัดประชุมให้ความรู้ด้านสุขภาพจิต/การประเมินตนเอง/เทคนิคการคลายเครียดจากใจสู่่กาย/เทคนิคการนวดคลายเครียด และการวางแผนแก้ปัญหาตนเองแก่คณะกรรมการชมรมจิตอาสา
  3. เยี่ยมติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และเสริมพลังใจ กลุ่มเสี่ยง
  4. จัดกิจกรรมเยี่ยมบ้าน ตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้า/ประเมินความเครียดและประเมินความวิตกกังวลต่อโรคไวรัสโคโรน่า
  5. ประชุมเพื่อการวิเคราะห์ชุมชน แปลผล และวางแผน ประเมินชุมชน คณะกรรมการชมรมจิตอาสา
  6. จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพจิต/การประเมินตนเอง/เทคนิคการคลายเครียดจากใจสู่กาย/เทคนิคการนวดคลายเครียดและการวางแผนการแก้ปัญหาตนเอง แก่กลุ่มเสี่ยง
  7. ประชุมติดตาม แลกเปลี่ยนการปรับทุกข์และการประเมินตนเองแก่กลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 1
  8. ประชุมติดตาม แลกเปลี่ยนการปรับทุกข์และการประเมินตนเอง แก่กลุ่มเสี่ยงครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,082
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู่้ส่งเสริมด้านสุขภาพจิตในชุมชน
  2. กลุ่มเป้าหมายสามารถคัดกรองและติดตามผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิตในชุมชนได้
  3. กลุ่มเป้าหมายสามารถค้นพบผู้ป่วยรายใหม่ประสานต่อเจ้าหน้าที่สาูธารณสุขได้เพื่อระบบการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องสุขภาพจิตในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น เรื่องสุขภาพจิต
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย สามารถคัดกรองประเมินภาวะด้านสุขภาพจิตได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายสามารถประเมินภาวะด้านสุขุภาพจิตได้อย่างถูกต้อง
0.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถแนะนำวิธีปฏิบัติตนในการแก้ไขปัญหาและขจัดความเครียดแ่ก่กลุ่มเสี่ยงได้อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถแนะนำวิธีปฏิบัติตนในการแก้ไขปัญหาและขจัดความเครียดแก่กลุ่มเสี่ยงได้อย่างถูกวิธี ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1082
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,082
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องสุขภาพจิตในชุมชน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย สามารถคัดกรองประเมินภาวะด้านสุขภาพจิตได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถแนะนำวิธีปฏิบัติตนในการแก้ไขปัญหาและขจัดความเครียดแ่ก่กลุ่มเสี่ยงได้อย่างถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำทะเบียนกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้ด้อยโอกาส (2) จัดกิจกรรม จัดประชุมให้ความรู้ด้านสุขภาพจิต/การประเมินตนเอง/เทคนิคการคลายเครียดจากใจสู่่กาย/เทคนิคการนวดคลายเครียด และการวางแผนแก้ปัญหาตนเองแก่คณะกรรมการชมรมจิตอาสา (3) เยี่ยมติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และเสริมพลังใจ กลุ่มเสี่ยง (4) จัดกิจกรรมเยี่ยมบ้าน ตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้า/ประเมินความเครียดและประเมินความวิตกกังวลต่อโรคไวรัสโคโรน่า (5) ประชุมเพื่อการวิเคราะห์ชุมชน แปลผล และวางแผน ประเมินชุมชน คณะกรรมการชมรมจิตอาสา (6) จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพจิต/การประเมินตนเอง/เทคนิคการคลายเครียดจากใจสู่กาย/เทคนิคการนวดคลายเครียดและการวางแผนการแก้ปัญหาตนเอง แก่กลุ่มเสี่ยง (7) ประชุมติดตาม แลกเปลี่ยนการปรับทุกข์และการประเมินตนเองแก่กลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 1 (8) ประชุมติดตาม แลกเปลี่ยนการปรับทุกข์และการประเมินตนเอง แก่กลุ่มเสี่ยงครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


จากใจคนอาสา สู่การส่งเสริมสุขภาพจิต ชุมชนบ้านหัวควน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2564 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3336-02-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางภคปภา เพชรขวัญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด