กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการรณรงค์ ป้องกัน และควบคุมไข้เลือดออก ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอาทินันทน์ สมุทรสารัญ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ ป้องกัน และควบคุมไข้เลือดออก ปีงบประมาณ ๒๕๖๔

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5313-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ ป้องกัน และควบคุมไข้เลือดออก ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ ป้องกัน และควบคุมไข้เลือดออก ปีงบประมาณ ๒๕๖๔



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ ป้องกัน และควบคุมไข้เลือดออก ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5313-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กรกฎาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงานด้านการควบคุมป้องกันตลอดจนการเฝ้าระวังการเกิดโรคติดต่อในชุมชนเป็นกิจกรรมที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องอย่างจริงจังและเคร่งครัด เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่ และดำเนินการควบคุมโรคอย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพกรณีมีโรคระบาดเกิดขึ้น จากสถานการณ์การเกิดโรคที่ผ่านมานั้นพบว่าพื้นที่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมืองได้เกิดโรคไข้เลือดออกและเป็นโรคที่จำเป็นต้องดำเนินการเฝ้าระวังและควบคุมอย่างทันท่วงที จากรายโรค๕ปีย้อนหลังในปี 60,61, 62 และ 63 มีอัตราป่วย, 20,738,250.45 , 115.63 และ 70.30ต่อแสนประชากร ตามลำดับ จากสถานการณ์ดังกล่าวนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้อง ดำเนินการเฝ้าระวังและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง ตามที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลละงู ได้มีการจัดทำระบบการแก้ปัญหาในพื้นที่ร่วมกับเครือข่ายในชุมชุมอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 ถึงปัจจุบัน โดยมีการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพเครือข่าย ได้แก่ 1) การเตรียมความพร้อมก่อนเกิดการระบาด เช่นการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เคมีภัณฑ์กำจัดยุง 2) การซ้อมแผนขณะเกิดการระบาด โดยการจำลองเหตุการณ์การระบาดในพื้นที่ มีการมอบหมายภารกิจขับเคลื่อนการดำเนินงาน และ 3)การป้องกันโรคในภาวะปกติ ด้วยการสำรวจและเฝ้าระวังค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ดังนั้นเพื่อการคงไว้ซึ่งระบบในการควบคุมป้องกันโรคดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลละงู จึงได้จัดโครงการรณรงค์ ป้องกัน และควบคุมไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2564 เพื่อจัดการการป้องกันควบคุมโรคในชุมชนให้มีประสิทธิภาพด้วยการเสริมพลังการทำงานของเครือข่ายในชุมชนอย่างมีระบบและยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกและพัฒนาสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
  2. เพื่อสร้างความตระหนักในการ กำจัด ทำลายลูกน้ำยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์และให้ความรู้ประชาชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ ป้องกัน ก่อน เกิดโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.  จำนวนผู้ป่วย ปี 25๖4 ไม่เกินเกณฑ์ อัตราป่วย ๕๐ ต่อประชากรแสนคน
2.  เครือข่ายสามารถจัดการควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพกรณีเกิดการระบาดในพื้นที่ 3.  ประชาชนตระหนักและมีพฤติกรรมป้องกันตนเองส่งผลให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายลดลง 4.  ไม่พบการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในกลุ่มวัยเรียนในสถานศึกษา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์ ป้องกัน ก่อน เกิดโรคไข้เลือดออก

วันที่ 9 กรกฎาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. รณรงค์ ป้องกัน  ก่อน เกิดโรคไข้เลือดออก พ่นหมอกควัน  เพื่อรณรงค์ก่อนโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
    รณรงค์ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน จัดซื้อ ทราย เทมีฟอสและน้ำยาเคมีพ่นยุง เพื่อใช้รณรงค์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน 1.1 ค่าจ้างพ่นโรงเรียน  7 แห่งๆละ 2 ครั้ง  โรงเรียนละ 500 บาท  เป็นเงิน  7000 บาท
    1.2 ค่าอาหารว่างในวันรณรงค์ 5 หมู่ละๆ 6 ครั้ง ครั้งละ 30 คน  *25 บาท เป็นเงิน  22500  บาท 1.3 ค่าจัดซื้อ ทรายเทมีฟอส 5 ถัง ๆละ 3000  บาท  เป็นเงิน  15000  บาท 1.4 ค่าจัดซื้อ น้ำยาเคมี พ่นยุง 20 ขวดๆละ  1200 บาท  เป็นเงิน  24000  บาท เป็นเงิน  39000  บาท รวมเป็นเงิน  68500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดัชนีลูกน้ำยุงลาย  HI<10    ดัชนีลูกน้ำยุงลาย  CI <10

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกและพัฒนาสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาได้รับการป้องกันโรคด้วยการฉีดพ่นเคมีกำกัดยุง
0.00

 

2 เพื่อสร้างความตระหนักในการ กำจัด ทำลายลูกน้ำยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์และให้ความรู้ประชาชน
ตัวชี้วัด : ผลการสุ่มค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกและพัฒนาสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา (2) เพื่อสร้างความตระหนักในการ กำจัด ทำลายลูกน้ำยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์และให้ความรู้ประชาชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ ป้องกัน ก่อน เกิดโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ ป้องกัน และควบคุมไข้เลือดออก ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5313-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาทินันทน์ สมุทรสารัญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด