กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ๐-๕ ปี ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางชุติมา หวันเต๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ๐-๕ ปี ปีงบประมาณ ๒๕๖๔

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5313-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ๐-๕ ปี ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ๐-๕ ปี ปีงบประมาณ ๒๕๖๔



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ๐-๕ ปี ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5313-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กรกฎาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นเสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก ๐-๕ ปี เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนพื้นฐาน ครบทุกชนิดตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งรวมถึงการได้รับวัคซีนกระตุ้นตามกำหนดที่เหมาะสมสำหรับวัคซีนแต่ละชนิดด้วย ซึ่งหากเด็กกลุ่มวัยดังกล่าวมีอัตราป่วยและตายด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแล้ว ชุมชน และประเทศชาติจะพัฒนาไปได้อย่างไรในอนาคต ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดวัคซีนให้ครอบคลุมตามเกณฑ์ที่วางไว้ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการ สาเหตุที่ส่วนใหญ่ผู้ปกครองไม่นำเด็กมารับวัคซีนตามนัดเนื่องมาจากผู้ปกครองไม่เห็นความสำคัญ ไม่ตระหนักถึงอันตรายที่จะเกิดกับบุตรหลานหากป่วยเป็นโรค เสียทั้งเงินและเวลา หากมีภาวะแทรกซ้อนก็อาจทำให้เสียชีวิตได้ การสร้างเสริมภูมิคุมกันโรค มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันไม่ให้ป่วยหรือตายจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนหรือลดอาการแทรกซ้อนและความรุนแรงของโรค จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของ โรคพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล ในรอบปี ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ที่ผ่านมาปรากฎว่า
๑. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุ ๑ ปีร้อยละ ๙๐.๕๕(จำนวนเด็กอายุครบ ๑ ปี จำนวน ๖๗ คน ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ๖๖ คน ๒. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุ ๒ ปีร้อยละ ๙๑.๘๙(จำนวนเด็กอายุครบ ๒ ปีจำนวน ๗๔ คน ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ๖๘ คน) ๓. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุ ๓ ปีร้อยละ ๘๒.๔๒ (จำนวนเด็กอายุครบ ๕ ปีจำนวน ๙๑ คน ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ๗๕ คน) ๔. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุ ๕ ปีร้อยละ ๗๒.๖๓(จำนวนเด็กอายุครบ ๕ ปีจำนวน ๙๕ คน ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ๖๙ คน) ซึ่งความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในกลุ่มอายุต่างๆยังต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนดคือร้อยละ๙๐ฉะนั้นเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามเกณฑ์ตัวชี้วัด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล ได้จัดทำโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ๐-๕ ปีปีงบประมาณ ๒๕๖๔

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปีในเขตรับผิดชอบได้รับวัคซีนขั้นพื้ฯฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด
  2. ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้ปกครองและแกนนำอสม.มีความรู้การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวิเคราะห์ข้อมูลการได้รับวัคซีนพื้นฐานของเด็ก๐-๕ ปีวางแผนการดำเนินงานร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่รับผิดชอบ
  2. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและแกนนำอสม. เรื่องแนวทางการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนให้ครอบคลุม
  3. ติดตามกลุ่มเป้าหมายเด็ก ๐-๕ ปี มารับบริการฉีดวัคซีนตามกำหนดนัด และติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่ขาดนัด
  4. สรุปผลการดำเนินโครงการ วิเคราะห์ และถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุ ๑ ปีร้อยละ ๙๕ ๒. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุ ๒ ปีร้อยละ ๙๕ ๓. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุ ๓ ปีร้อยละ ๙๐ ๔. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุ ๕ ปีร้อยละ ๙๐


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ติดตามกลุ่มเป้าหมายเด็ก ๐-๕ ปี มารับบริการฉีดวัคซีนตามกำหนดนัด และติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่ขาดนัด

วันที่ 1 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ออกติดตามเยี่ยมบ้านเด็ก 0-5 ปีให้มารับบริการตามนัดและติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่ขาดนัดทุกเดือนเพื่อกระตุ้นติดตามให้มารับวัคซีนตามนัดโดยอาสาสมัครสาธารณสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็ก

 

0 0

2. ประชุมวิเคราะห์ข้อมูลการได้รับวัคซีนพื้นฐานของเด็ก๐-๕ ปีวางแผนการดำเนินงานร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่รับผิดชอบ

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุม วิเคราะห์ วางแผนการดำเนินงานโดยใช้กระบวนการ AIC (เครือข่ายในชุมชน แกนนำอสม. ผู้นำชุมชน บัณฑิตอาสา ผู้นำศาสนา)  จำนวน 50 คน -สถานการณ์งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของ รพ.สต.ละงู และค้นหาสาเหตุของการไม่มารับวัคซีนตามนัดของเด็ก 0-5 ปี -ร่วมกันคิดวิเคระห์หากลวิธีและวางแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครือข่ายในชุมมีความรู้

 

0 0

3. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและแกนนำอสม. เรื่องแนวทางการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนให้ครอบคลุม

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

2.อบรมปฏิบัติการเรื่องแนวทางการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนให้คลอบคลุม 2.1อาสาสมัครสาธารณสุขจำนวน 50 คน -สถานการณ์การได้รับวัคซีน -โรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน -ความสำคัญของการที่ต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ -แผนการให้วัคซีนของหน่วยงานและแผนการติดตามเด็กที่ขาดนัด  ระดมสมองช่วยกันคิดวิเคราะห์ แยกแยะ 2.2ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีที่ขาดนัดและกลุ่มผู้ปกครองที่สนใจ โดยใช้กระบวนการ AIC จำนวน 50 คน -สถานการณ์การได้รับวัคซีน -โรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน -ความสำคัญของการที่ต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองและแกนนำอสม.มีความรู้ด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนมีผลการวัดความรู้ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ

 

0 0

4. สรุปผลการดำเนินโครงการ วิเคราะห์ และถอดบทเรียน

วันที่ 4 มกราคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมถอดบทเรียนวิเคราะห์การดำเนินงาน และประเมินผล ใช้กระบวนการ AIC (เครือข่ายในชุมชน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็ก 0-5 ปีป่วยเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนไม่เกินร้อยละ10

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปีในเขตรับผิดชอบได้รับวัคซีนขั้นพื้ฯฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด
ตัวชี้วัด : -อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก ๑ ปีมากกว่าร้อยละ ๙๕ -อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก ๒ ปีมากกว่าร้อยละ ๙๕ -อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก ๓ ปีมากกว่าร้อยละ ๙๐ -อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก ๕ ปีมากกว่าร้อยละ ๙๐
0.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้ปกครองและแกนนำอสม.มีความรู้การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : -ผู้ปกครองและแกนนำอสม. มีความรู้ด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน มีผลการวัดความรู้ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ (ตอบถูก ๘ ใน ๑๐ ข้อ) ร้อยละ ๘๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปีในเขตรับผิดชอบได้รับวัคซีนขั้นพื้ฯฐานครบตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้ปกครองและแกนนำอสม.มีความรู้การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวิเคราะห์ข้อมูลการได้รับวัคซีนพื้นฐานของเด็ก๐-๕ ปีวางแผนการดำเนินงานร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่รับผิดชอบ (2) อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและแกนนำอสม. เรื่องแนวทางการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนให้ครอบคลุม (3) ติดตามกลุ่มเป้าหมายเด็ก ๐-๕ ปี มารับบริการฉีดวัคซีนตามกำหนดนัด และติดตามเยี่ยมบ้านเด็กที่ขาดนัด (4) สรุปผลการดำเนินโครงการ วิเคราะห์ และถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ๐-๕ ปี ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5313-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางชุติมา หวันเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด