กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก


“ โครงการศูนย์บริการชุมชน(Drop in Center) บริการใส่ใจ ห่วงใยสุขภาพ ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอุมา รินชะ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์บริการชุมชน(Drop in Center) บริการใส่ใจ ห่วงใยสุขภาพ

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3330-1-03 เลขที่ข้อตกลง 3/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 สิงหาคม 2564 ถึง 10 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศูนย์บริการชุมชน(Drop in Center) บริการใส่ใจ ห่วงใยสุขภาพ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์บริการชุมชน(Drop in Center) บริการใส่ใจ ห่วงใยสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศูนย์บริการชุมชน(Drop in Center) บริการใส่ใจ ห่วงใยสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3330-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 สิงหาคม 2564 - 10 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,258.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงานเพื่อยุติปัญหาเอดส์โดยมีเป้าประสงค์เพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ลดการเสียชีวิตจากเอดส์ลดการตีตราและเลือกปฏิบัติเกี่ยวข้องกับเอชไอวี/เอดส์ จึงได้มีแนวคิดให้เกิดศูนย์บริการชุมชน ตรวจการคัดกรองหาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เพื่อลดช่องว่างในการให้บริการ ช่องว่างระหว่างชุมชนสู่โรงพยาบาล โดยมีภาครัฐและภาคประชาสังคมร่วมกันจัดตั้งศูนย์บริการชุมชน (DIC: Drop in Center) เพื่อให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการ ได้รับความสะดวกรวดเร็วเป็นกันเองเบ็ดเสร็จลดขั้นตอนได้รับทั้งความรู้ อุปกรณ์การป้องกัน เชื่อมโยงระบบการป้องกันเข้าสู่การตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีและการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และส่งต่อเข้าสู่ระบบบริการรักษา โดยสถานที่ที่จัดชั้นเพื่อให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมาย มีความสะดวก ความปลอดภัย ง่ายต่อการเข้าถึง มีระบบการบริหารจัดการเพื่อเข้าถึงบริการชองกลุ่มเป้าหมาย มีบริการป้องกันและเข้าถึงบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีโดยติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ วัณโรค รวมถึง ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพขั้นพื้นฐาน การให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นทั้งทางตรงและทางอ้อมอีกทั้งเป็นศูนย์กลางเชื่อมประสาน ระหว่างกลุ่มเป้าหมาย ชุมชน และระบบบริการของรัฐ ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน มีร้านคาราโอเกะ และสวนอาหารจำนวน๑0 ร้าน ผู้ป่วยเอดส์ กลุ่มชายรักชาย จึงจำเป็นต้องดำเนินการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยจัดตั้งศูนย์บริการชุมชน (DlC; Drop in Center) และพัฒนาคุณภาพบริการให้ได้มาตรฐานและมีคุณภาพเกิดประโยชน์ต่อผู้มารับบริการ ดั้งนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอนจึงได้ทำโครงการศูนย์บริการชุมชน (Drop in Center)บริการใส่ใจ ห่วงใยสุขภาพ โดยพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการให้ได้มาตรฐานและส่งเสริมประชาสัมพันธ์การให้บริการอย่างทั่วถึง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการรองรับการยกระดับมาตรฐานงานภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน
  2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงและประชาชนเข้าถึงระบบบริการได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว
  3. เพื่อส่งเสริมความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อางเพศสัมพันธ์ในแกนนำสุขภาพ
  2. อบรมให้ความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มแม่บ้าน กลุ่มประชากรเป้าหมายและเยาวชนที่มีความเสี่ยง
  3. อบรมให้ความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวัดลอน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 98
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
แม่บ้าน 60

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.รองรับการพัฒนาคุณภาพบริการรองรับการยกระดับมาตรฐานงานภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงและประชาชนเข้าถึงระบบบริการได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว 3.กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเสี่ยง เยาวชนที่มีความเสี่ยงและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น รร.วัดลอน มีความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการรองรับการยกระดับมาตรฐานงานภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน
ตัวชี้วัด : สถานบริการได้รับการพัฒนาคุณภาพบริการตามมาตรฐานงานภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน
0.00

 

2 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงและประชาชนเข้าถึงระบบบริการได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงและประชาชนเข้าถึงระบบบริการได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 218
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 98
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
แม่บ้าน 60

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการรองรับการยกระดับมาตรฐานงานภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน (2) เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงและประชาชนเข้าถึงระบบบริการได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว (3) เพื่อส่งเสริมความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อางเพศสัมพันธ์ในแกนนำสุขภาพ (2) อบรมให้ความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มแม่บ้าน กลุ่มประชากรเป้าหมายและเยาวชนที่มีความเสี่ยง (3) อบรมให้ความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวัดลอน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศูนย์บริการชุมชน(Drop in Center) บริการใส่ใจ ห่วงใยสุขภาพ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3330-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุมา รินชะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด