กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี


“ รณรงค์คัดกรองมะเร็งปากมดลูก ”

ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาอีม๊ะเจะเลาะ

ชื่อโครงการ รณรงค์คัดกรองมะเร็งปากมดลูก

ที่อยู่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 009 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"รณรงค์คัดกรองมะเร็งปากมดลูก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รณรงค์คัดกรองมะเร็งปากมดลูก



บทคัดย่อ

โครงการ " รณรงค์คัดกรองมะเร็งปากมดลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสามัคคี อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สามัคคี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย โดยพบเป็นอันดับ ๒ ของมะเร็งในสตรีไทย รองจากมะเร็งเต้านม จากรายงานของ WHO/ICO Information Centre on HPV and Cervical cancer (Human papillmavirus and Related Cancers in Thailand, summary Report ๒๐๑๐ ได้รายงานในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ประเทศไทยมีประชาชนสตรีที่เสี่ยงต่อมะเร็งปากมดลูก ๒๖.๐๙ ล้านคน มีอายุตั้งแต่ ๑๕ ปีขึ้นไป มีจำนวนผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ปีละ ๙,๙๙๙ ราย เสียชีวิต ๕,๒๑๖ ราย หรือประมาณร้อยละ ๕๓ ถ้าคิดเป็นวันแล้วจะมีสตรีไทายเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกเฉลี่ยวันละ ๑๔ คน อุบัติการณ์โดยรวมของมะเร็งปากมดลูกในช่วง ๑๕ ปีที่ผ่านมาลดลงเพียงเล็กน้อย แต่จำนวนผู้ป่วยรายใหม่สูงขึ้นเรื่อยๆถ้าอุบัติการณ์ของมะเร็งปากมดลูกยังคงสูงในระดับนี้โดยไม่มีมาตรการหรือยุทธวิธีใหม่ที่มีประสิทธภาพมาป้องกันจากรายงานทางระบาดวิทยาของมะเร็งในประเทศไทยประชากร ๑๐๐,๐๐๐ ราย รองลงมา คือ จังหวัดชลบุรี ๓๐.๖ ราย ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ ราย และต่ำสุดที่จังหวัดขอนแก่น ๑๕.๓ ราย ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ ราย และต่ำสุดที่จังหวัดขอนแก่ ๑๕.๓ ราย ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ รายส่วนในภาคเหนือ อุบัติการณ์ของมะเร็งปากมดลูกสูงสุด คือ จังหวัดเชียงใหม่ ๒๕.๑ ราย ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ ราย ซึ่งมีอุบัติการณ์ (ASR) เป็นอับดับ ๓ ของประเทศประชากรทั้ง ๑๔ จังหวัดภาคใต้ พบว่า มีอุบัติการณ์การเกิดมะเร็งสูงเป็นอันดับหนึ่งของทั้งภูมิภาค โดยมีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้น ๑,๐๙๒ รายต่อปี ในจำนวนนี้เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย คืน ๕๙๗ ราย ขณะที่เพศชายเพิ่มขึ้นต่อปี ๔๙๕ ราย ในขณะที่มีผู้เสียด้วยโรคมะเร็งประมาณ ๗๔๒ รายต่อปี เมื่อจำแนกตามชนิดมะเร็งในเพศชายพบว่ามะเร็งปอดเป็นอันดับหนึ่ง จำนวน ๑๑๐ รายต่อไป ปัจจัยสำคัญมีสาเหตุจากการสูบบุหรี ส่วนในเพศหญิงอันดับหนึ่งคืนมะเร็งเต้านมจำนวน ๙๘ รายต่อปี รองลงมามะเร็งปากมดลูกจำนวน ๘๙ รายต่อปี และมะเร็งปอด ๔๑ รายต่อปี สำหรับจังหวัดนราธิวาส ในปี ๒๕๕๗ สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๐ ถึง ๖๐ ปี ในจังหวัดมีสตรี กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด ๑๒๓,๙๔๒ คนได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap Smear จำนวน ๔,๕๗๑ ราย คิดเป็นร้อยละ ๓.๖๘ (ค่าเป้าหมายร้อยละ ๒๐ ) คปสอ.รือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกลูกทั้งหมด ๑๙๘ คนจากกลุ่มเป้าหมาย ๑๒,๑๔๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๖๓ และในส่วนของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงกือเตะ ตำบลสามัคคี ปี ๒๕๕๙ ได้ดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน พบว่า กลุ่มเป้าหมายได้รับการาตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกจำนวน ๑๔๑ ราย คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๒ ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด ๕๘๑ ราย จะเห็นได้ว่า การตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกยังดำเนินการตรวจคัดกรองไก้ไม่ครองคลุม กลุ่มเป้าหมายดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงกือเตะ ตำบลสามัคคี จึงจัดทำโครงการเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายเพื่อดำเนินการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้สตรีกลุ่มเป้าหมาย แกนนำสุขภาพ และอาสาสมัคคีสาธารณสุขมีส่วนช่วนประชาสัมพันธ์ปรับเปลี่ยนทัสน์คติ เพื่อให้การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสามารถดำเนินการได้ครองคลุมมากยิ่งขึ้นอันส่งผลให้ตรวจพบผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกได้ตั้งแต่ระยะแรกได้มากขึ้น ซึ่งสามารถลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งอีกทางหนึ่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกในแต่ละปีไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๒๐ 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาได้ทันที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เบิกค่าจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูก 2.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และใส่ใจการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนสามารถจัดการสุขภาพตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม 3.สตรีที่ตรวจพบมะเร็งปากมดลูกได้รับการส่งต่อและการรักษาได้ทันที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เบิกค่าจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน สำรวจประชากรกลุ่มเป้าหมาย จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการนี้ไม่สามารถดำเนินการต่อเนื่องให้ครบขั้นตอนตามแผนงานที่วางไว้เนื่องจากเจ้าหน้าที่มีงานเร่งด่วนต้องดำเนินการในเวลาเดียวกันและต่อเนื่องจึงไม่บรรลุผลตามที่วางได้

 

4 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกในแต่ละปีไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๒๐ 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาได้ทันที่
ตัวชี้วัด : 1.สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกในแต่ละปีไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๒๐
2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาได้ทันที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เบิกค่าจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


รณรงค์คัดกรองมะเร็งปากมดลูก จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 009

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนาอีม๊ะเจะเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด