กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ


“ โครงการอาหารมื้อเช้าเพื่อน้องท้องอิ่ม ”

ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาลิกาเฉมเร๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการอาหารมื้อเช้าเพื่อน้องท้องอิ่ม

ที่อยู่ ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60 – L5181 -03-004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารมื้อเช้าเพื่อน้องท้องอิ่ม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารมื้อเช้าเพื่อน้องท้องอิ่ม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารมื้อเช้าเพื่อน้องท้องอิ่ม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60 – L5181 -03-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เพื่อน้อมนำตามแนวทางพระราชดำริ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงตรัสไว้ว่า “เมื่อท้องอิ่มก็ทำให้เกิดความแตกต่างอย่างมากในชีวิตของเด็กๆ” และเพื่อแก้ปัญหาเด็กๆ ที่ต้องไปโรงเรียนโดยไม่ได้รับประทานอาหารเช้า อันเนื่องจาก พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ต้องออกไปทำงานตั้งแต่เช้า ไม่ได้เตรียมอาหารเช้าไว้ให้ เด็กบางรายพ่อแม่ ผู้ปกครอง ทิ้งเงินไว้ให้ แต่เด็กนำไปซื้อขนมกินเล่นแทนที่จะซื้ออาหารหลัก บางครอบครัวเด็กขาดแคลนแหล่งอาหาร ไม่มีเงินซื้อ ผู้ปกครองไม่มีเวลาดูแล การบริโภคอาหารไม่ครบตามหลักโภชนาการ จะส่งผลต่อระบบสมองและสมาธิในการเรียนรู้ของเด็ก เด็กบางคนต้องดื่มน้ำให้มากและบ่อยๆ เพื่อประทังความหิว รอจนถึงอาหารกลางวัน การสนับสนุนอาหารเช้าสำหรับเด็ก จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยแก้ไขปัญหาได้ตรงจุด เมื่อเด็กได้รับประทานอาหารเช้าก่อนไปโรงเรียน จะทำให้มีความพร้อมในการเรียนรู้ เด็กมีสมาธิในการเรียนสิ่งต่างๆ ตลอดทั้งวัน เด็กร่าเริง แจ่มใส ไม่งอแงและร่วมกิจกรรมในสถานศึกษาได้อย่างเต็มที่ อีกอย่างเป็นการแบ่งเบาภาระผู้ปกครองที่ไม่มีเวลาดูแลเด็กได้อย่างเต็มที่ และลดภาระค่าใช้จ่ายด้านอาหารของครอบครัวเด็กที่ยากจน ซึ่งผลจากการดำเนินโครงการที่มีลักษณะเช่นเดียวกับโครงการนี้จากหลายๆที่ได้ข้อมูล คือ พบว่าเด็กมีพัฒนาการที่ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด เมื่อเทียบกับก่อนดำเนินโครงการทั้งทางร่างกาย คือเด็กมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น ด้านจิตใจและอารมณ์มีความพร้อม และตอบสนองในการทำกิจกรรมต่างๆ มากขึ้น ร่าเริงแจ่มใส ด้านสังคม เด็กได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกัน โดยเฉพาะการกินอาหารร่วมกัน การแบ่งปัน ที่สำคัญคือ เด็กสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน คือกินอาหารเช้ามากขึ้น ผู้ปกครองก็ให้ความใส่ใจเรื่องอาหารเช้ามากขึ้นเช่นกัน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองข่า มีเด็กนักเรียนทั้งหมดจำนวน 80 คน ซึ่งจากแบบสำรวจการบริโภคอาหารเช้าของนักเรียนทั้งหมด ปรากฏว่าเด็กนักเรียนไม่ได้รับประทานอาหารเช้ามาโรงเรียน จำนวน 25 คน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองข่าได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าวจึงดำเนินการจัดทำโครงการอาหารมื้อเช้าเพื่อน้องท้องอิ่มขึ้นซึ่งจะส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองข่า ได้บริโภคอาหารเช้า เป็นการส่งเสริมให้เด็กได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ และจำเป็นต่อร่างกาย
  2. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองข่า ได้รับการดูแลสุขภาพ อนามัย มีพัฒนาการเจริญเติบโตตามเกณฑ์
  3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารเช้าตลอดให้ติดเป็นนิสัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองข่า ได้บริโภคอาหารเช้า ที่มีประโยชน์ตามหลักโภชนาการ
    2. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองข่า ได้รับการดูแลสุขภาพ อนามัย มีพัฒนาการเจริญเติบโตตามเกณฑ์
    3. เด็กมีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารเช้าตลอดให้ติดเป็นนิสัย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองข่า ได้บริโภคอาหารเช้า เป็นการส่งเสริมให้เด็กได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ และจำเป็นต่อร่างกาย
    ตัวชี้วัด : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองข่าสามารถดำเนินการตามโครงการอาหารเช้าแบบยั่งยืนได้

     

    2 เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองข่า ได้รับการดูแลสุขภาพ อนามัย มีพัฒนาการเจริญเติบโตตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด : การประเมินภาวะโภชนาการจากน้ำหนักส่วนสูง การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงก่อนโครงการ และทุก 2 เดือน

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารเช้าตลอดให้ติดเป็นนิสัย
    ตัวชี้วัด : การสอบถามจากผู้ปกครองในการรับประทานอาหารเช้าของเด็ก

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองข่า ได้บริโภคอาหารเช้า เป็นการส่งเสริมให้เด็กได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ และจำเป็นต่อร่างกาย (2) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองข่า ได้รับการดูแลสุขภาพ อนามัย มีพัฒนาการเจริญเติบโตตามเกณฑ์ (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารเช้าตลอดให้ติดเป็นนิสัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอาหารมื้อเช้าเพื่อน้องท้องอิ่ม จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60 – L5181 -03-004

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาลิกาเฉมเร๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด