กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการ การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เเม่วัยใส ตั้งครรภ์ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางโรฮานี บินตีฮะซัน

ชื่อโครงการ โครงการ การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เเม่วัยใส ตั้งครรภ์ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2492-1-22 เลขที่ข้อตกลง 22/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เเม่วัยใส ตั้งครรภ์ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เเม่วัยใส ตั้งครรภ์ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เเม่วัยใส ตั้งครรภ์ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2492-1-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาที่มีความชับซ้อนและมีความรุนแรงเพิ่มแรงเพิ่มมากขึ้นมีแผลกระทบ ต่อวัยรุ่นเองและส่งผลกระทบต่อบุตรด้วยซึ่งสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุขได้เร่งรัดการ ดำเนินการโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามกลุ่มวัยรุ่น มีการพัฒนา และสนับสนุนโรงพยาบาลตามเเนวทางมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นเเละเยาวชน (Youth Friendly Services) เพื่อให้วัยรุ่นเเละเยาวชนทุกกลุ่มเข้าถึงบริการสุขภาพที่เป็นมิตรตามความต้องการเเต่อย่างไรก็ตามการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังคงเป็นปัญหาสำคัญในหลายประเทศทั่วโลกซึ่งพบว่าอัตราเกิดมีชีพเฉลี่ยทั่วโลกในมารดาอายุ ๑๕ ๑๘ ปี ใน พ.ศ. ๒๕๕๘ อยู่ที่ ๔๗ คนต่อพันประชาการ (Wold Heath Oganization /V+0], boat) โดยในกลุ่มประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยปานกลางมีอัตรา เกิตมีชีพเฉลี่ยในการมารดาอายุ ๑๕-๑๙ ปี อยู่ที่ ๒๒ คนต่อพันประชากรในชณะที่กลุ่มประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยปาน กลางมีอัตราเกิดชีพเฉลี่ยในมารดาอายุ ๑๕-๓๙ ปี อยู่ที่ ๔๒ คนต่อพันประซากร (Uhited Nations, 2015) ซึ่งประเทศไทย จัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยปานกลาง แต่มีอัตราเกิดมีชีพเอสียในมารดาอายุ ๓๕ ๑๔ ปี ใน พ.ศ.b๕๕๘- ๒๕๕๙ อยู่ที่ ๕๑ คนต่อประชากร (United Nations Chidten's Fund (UNCEF, 2559 ซึ่งสูงกว่าอัตราเกิดมีชีพเฉสี่ยในมารดาอายุ ๑๕ ๑๙ ปีของกลุ่ม ประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยปานกลางและสูงกว่าเกณฑ์ชี้วัดของสำนักอนามัยการเจริญพันธุ กรมอนามัย ที่กำหนดให้ไม่เกิน ๔๒ ต่อพันประชากรและจากการสำรวจสถานการณ์เต็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ.๒๕๕๕ โดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า วัยรุ่นอายุ ๑๕-๓๙ ปีที่มีบุตรแล้วเกือบครึ่งหนึ่งเป็นการตั้งครรภ์ไม่ได้ตั้งใจ ส่วนใหญ่มี ฐานะ ทางเศรษฐกิจซองครองครัวเรือนในระตับยากจนมาก จบการศึกษาระดับประถมศึกษา วัยรุ่นที่มาฝากครรภ์ที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพดำบสโคกเคียน จำนวน ๒๒ ราย และมาฝากครรภ์ข้าทั้ง ๒6 ราย รวมทั้งพบภาวะชีกจากการที่มาฝากครรภ์ข้า คิดเป็นร้อยละ 46.๖๓,๑๗.๕๕,๑๒.0๖.๑๑.d๒,๑๕.0๕ ซึ่งสูง กว่าอัตราการเกิดภาวะโลหิตจาง เฉลี่ย ร้อยละ ๑. (รายงานส่งเสริมงานอนามัยแม่และเต็ก ปี พ.ศ.๒๕๕๙-พ.ศ.๒๕'๖๓) การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมีโอกาสสูงที่จะเป็นการตั้งครรภ์โดยไม่ใด้มีการวางแผน นมาก่อนส่งผลกระทบด้านสุขภาพ ร่างกายเนื่องการเจริญเติบโตต้านร่างกายของแม่วัยรุ่นยังไม่เต็มที่จึงมีโอกาสมีภาวะแทรกช้อนจากการตั้งครรภ์ เช่น ภาวะอีก คลอดก่อนกำหนด สูงกว่าการตั้งครรภ์ในวัยผู้ใหญ่ วมทั้งปัจจัยด้านจิตใจ อารมณ์ และสังคมที่ต้องเปลี่ยน บทบาทจากเด็กหญิงมาเป็นแม่ที่ต้องรับผิดซอบแบบผู้ใหญ่ในทันทีมักประสบการความเครียดและโรคซึมเศร้าเนื่องจาก ไม่ได้มีการเตรียมตัวสำหรับการใช้ชีวิตครอบครัวและเป็นแม่ และการไม่ใต้ฝากครรภ์หรือฝากครรภ์เมื่อมีอายุครรภ์มาก เป็นเหตุให้ไม่ได้รับการดูแลที่ดีระหว่างการตั้งครรภ์ที่เหมาะสมข็งมารตาอาจจะมีภาวะเสี่ยงหรือโรคประจำตัวบางอย่าง หรือภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระหว่างการตั้งครรภ์ไม่ใต้รับการวินิฉัย และการแก้ไขตั้งแต่เริ่มแรกทำให้อาจส่งผส กระทบด้านสุขภาพเกิดภาวะแทรกข้อนได้ตั้งแต่นระยะการตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด กที่กล่าวมาข้างตันทำให้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเคียนจะจัดทำ "โครงการ แม่วัยใ ลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ "เพื่อให้คำปรึกษาและแนะนำแก่หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นและครอบครัวในการดูแลปฏิ ตั้งครรภ์ให้สามารถได้ปฏิบัติตนได้เหมาะสมเพื่อลดภาวะแทรกช้อนต่างจระยะการตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง เเม่วัยใส ตั้งครรภ์ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 64-L2492-1-22

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางโรฮานี บินตีฮะซัน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด