กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุภาภรณ์ บุญพงษ์มณี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64 – L7452 – 5 – 6 เลขที่ข้อตกลง 27-2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64 – L7452 – 5 – 6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,991,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ได้มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไป เป็นระยะอย่างต่อเนื่องจนถึงวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 และนายกรัฐมนตรีได้ลงนามในข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 25 ) ประกาศลงวันที่ 26 มิถุนายน 2564 มีผลตั้งแต่วันที่ 28 มิถุนายน 2564 เป็นต้นไป และศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด- 19)ที 6/2564 เรื่อง พื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ซึ่งจังหวัดยะลากำหนดระดับของพื้นที่เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด นั้น เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19 ) ในพื้นที่จังหวัดยะลา พบผู้ติดเชื้อเป็นจำนวนมากอย่างต่อเนื่องในหลายพื้นที่ และเพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดออกตามความมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ. ศ. 2548 (ฉบับที่ 25) จึงมีความจำเป็นต้องกำหนดมาตรการที่เข้มงวดและเร่งด่วน เพื่อการบังคับใช้มาตรการควบคุมแบบบูรณาการ และเป็นการป้องกันและยับยั้งการระบาดของโรค มิให้มีการแพร่ระบาดออกไปในวงกว้างและกระทบความเป็นอยู่ของประชาชน ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 จากสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2564 ถึง 1 กรกฎาคม 2564ผู้ป่วยรายใหม่ 5,880 ราย ผู้ป่วยยืนยันสะสม 242,058 ราย เสียชีวิต 61 ราย ในจังหวัดยะลา มีผู้ป่วยสะสม 1,989 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิต 13 รายในเขตเทศบาลนครยะลาตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน ถึง 30 มิถุนายน 2564 มีจำนวนผู้ป่วย 138 ราย พื้นที่พบมากที่สุดคือพื้นที่ตลาดเก่าจำนวน 96 ราย รองลงคือพื้นที่บ้านสะเตง จำนวน 18 ราย เสียชีวิต 2 ราย ซึ่งปัจจุบันผู้ป่วยได้แพร่กระจายไปยังพื้นที่ต่างๆ เพิ่มมากขึ้น และสืบเนื่องจากได้เพิ่มการตรวจคัดกรองเชิงรุกในพื้นที่ตลาดเก่า จำนวน 12 ชุมชน เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดอย่างเร่งด่วน จึงทำให้อุปกรณ์ ไม่เพียงพอในการตรวจคัดกรอง มีความจำเป็นที่จัดซื้ออย่างเร่งด่วน อาศัยตามอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2496 มาตราที่ 50 ข้อที่ 4 (ป้องกันและระงับโรคติดต่อ) ในการคัดกรองตรวจเชื้อแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่จังหวัดยะลา ที่เดินทางมาจากพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด จำนวน 10 จังหวัด เช่น กรุงเทพ นครปฐม นนทบุรี นราธิวาสสมุทรสาคร ปทุมธานี ยะลา ปัตตานี สงขลา ปทุมธานี และบุคคลที่สัมผัสกับคนติดเชื้อหรือคนที่มีอาการ ไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ เป็นต้น เพื่อลดผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ ครอบครัว ชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและทั่วถึง เป็นการตอบโต้ต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สร้างความเชื่อมั่นและความปลอดภัยแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและทั่วถึง ในเขตเทศบาลนครยะลาต่อไป ดังนั้น กลุ่มงานป้องกันและควบคุมโรค สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา จึงได้จัดทำ โครงการตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test)ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อคัดกรองประชาชนในกลุ่มเสี่ยงและประชาชนที่มาจากพื้นที่ควบคุมและเข้มงวด และบุคคลที่สัมผัสกับคนติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID – 19) หรือมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอได้รับการคัดกรองตรวจเชื้อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การคัดกรองตรวจเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดย Antigen (Rapid Test) ในประชาชนกลุ่มเสี่ยง มาจากพื้นที่ควบคุมและเข้มงวด บุคคลที่สัมผัสกับคนติดเชื้อ หรือมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในกลุ่มเสี่ยงหรือมาจากพื้นที่ควบคุม ได้รับตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test) และประชาชนที่สัมผัสกับคนติดเชื้อ หรือมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ
  2. ลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ในเขตเทศบาลนครยะลา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อคัดกรองประชาชนในกลุ่มเสี่ยงและประชาชนที่มาจากพื้นที่ควบคุมและเข้มงวด และบุคคลที่สัมผัสกับคนติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID – 19) หรือมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอได้รับการคัดกรองตรวจเชื้อ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19) โดย Antigen (Rapid Test) 2. ร้อยละ 90 ประชาชนมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 10000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อคัดกรองประชาชนในกลุ่มเสี่ยงและประชาชนที่มาจากพื้นที่ควบคุมและเข้มงวด และบุคคลที่สัมผัสกับคนติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID – 19) หรือมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอได้รับการคัดกรองตรวจเชื้อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การคัดกรองตรวจเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดย Antigen (Rapid Test) ในประชาชนกลุ่มเสี่ยง มาจากพื้นที่ควบคุมและเข้มงวด บุคคลที่สัมผัสกับคนติดเชื้อ หรือมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดย Antigen (Rapid Test) ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64 – L7452 – 5 – 6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุภาภรณ์ บุญพงษ์มณี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด