กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง


“ โครงการบริหารจัดการศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วยตำบลอัยเยอร์เวง (Local Quarantine) ปี 2564 ”

ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวโซเฟีย หะยีมะ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วยตำบลอัยเยอร์เวง (Local Quarantine) ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง .....................

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วยตำบลอัยเยอร์เวง (Local Quarantine) ปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วยตำบลอัยเยอร์เวง (Local Quarantine) ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วยตำบลอัยเยอร์เวง (Local Quarantine) ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กรกฎาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโ๕โรนา 2019 (COVID 19) ในปี 2564 ยังคงทวีความรุนแรงมากขึ้รอย่างต่อเนื่องทั่วประเทศไทย โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมถึงจังหวัดชายแดนภาคได้ จากข้อมูลกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 24 กรกฎาคม 2564 มีรางงานผู้ป่วยยืนยันในประเทศไทย ติดเชื้อสะสม 481,967 ราย หายป่วย 328,008 ราย อยู่ระหว่างการรักษา 150,248 ราย ผู้ป่วยยืนยันเสียชีวิต 3,930 ราย และจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID 19) ในพื้นที่จังหวัดยะลา พบผู้ติดเชื้อจำนวนมากในหลายพื้น โดยในพื้นที่อำเภอเบตง จังหวัดยะลา พบผู้ติดเชื้อสะสมระลอกตั้งแต่เดือนเมษายน 2564 จำนวน 328 ราย โดยเป็นผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ การติดเชื้อของประชาชนในตำบลอัยเยอร์เวงโดยส่วนใหญ่ เกิดจากการเดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยงในจังหวัดใกล้เคียง นำมาสู่การติดเชื้อภายในครอบครัว ส่งผลให้เกิดการติดเชื้อคลัสเตอร์ต่างๆ ตามมาในพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวงและทำให้มีการปิดหมู่บ้านจำนวนหลายหมู่บ้านตามมา จากสถานการณ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการเฝ้าระวังผู้เดินทางกลับมาจากพื้นที่เสี่ยงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องดำเนินการอย่างครัดและมีประสิทธิภาพ ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวงได้มีการจัดตั้งศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วย ( Local Quarantine) ประจำตำบลอัยเยอร์เวงขึ้น เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 เพื่อสังเกตอาการผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยง โดยมียอดสะสมผู้เข้ากักกันในศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วย (Local Quarantine) ป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์ยาเสพติด กิจกรรมโครงการรณรงค์และแก้ไขปัญหายาเสพติด To be number one (ศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นในชุมชน/หมู่บ้าน) ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี แล้ว เป็นจำนวน 52 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 24 กรกฎาคม 2564) และมีแนวโน้มที่จะมีผู้เข้ากักกันในศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วย (Local Quarantine) เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลหลังวันฮารีรายอ   จากแนวโน้มการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของจำนวนผู้เข้ากักกันในศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วย (Local Quarantine)องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวงจึงจำเป็นต้องมีการบริหารจัดการศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วย (Local Quarantine) เพื่อรองรับจำนวนผู้มีความเสี่ยงต้องสังเกตอาการที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนการจัดตั้งศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วย (Local Quarantine) ส่วนขยายชั่วคราว เพื่อรองรับประชาชนผู้กลับจาดพื้นที่เสี่ยงในช่วงเทศกาลวันฮารีรายอ   ในการนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง จึงดำเนินการจัดทำโครงการบริหารจัดการศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วยตำบลอัยเยอร์เวง (Local Quarantine) ปี 2564 ขึ้น เพื่อบริหารจัดการศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วยตำบลอัยเยอร์เวงให้มีประสิทธิภาพ มีความพร้อม เพียงพอ และลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังบุคคล ผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยง
  2. เพื่อจัดให้มีวัสดุ อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวกแก่บุคคลผู้เข้ากักกันในศูนย์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1
  2. กิจกรรมบริหารระบบศูนย์สังเกตการณ์เริ่มป่วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.พื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง ได้รับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2.ศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วยตำบลอัยเยอร์เวงมีความพร้อม ปลอดภัยและสามารถเฝ้าระวังดูแลผู้เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมบริหารระบบศูนย์สังเกตการณ์เริ่มป่วย

วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จำนวนผู้เข้าร่วม   -บุคคลผู้มีความเสี่ยง จำนวน 29 คน   -เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานประจำศูนย์ จำนวน 21 คน ขั้นตอนดำเนินการ   -ดำเนินการคัดกรองและนำกลุ่มเสี่ยงเข้ากักตัว เป็นเวลา 14 วัน   -เฝ้าระวังและสังเกตอาการ หากเข้าเกณฑ์ ให้รีบนำส่งโรงพยาบาลเบตง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.พื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง ได้รับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2.ศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วยตำบลอัยเยอร์เวงมีความพร้อม ปลอดภัยและสามารถเฝ้าระวังดูแลผู้เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังบุคคล ผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงได้รับการกักตัวเพื่อสังเกตอาการติดเชื้อครบ 14 วัน
100.00 100.00

 

2 เพื่อจัดให้มีวัสดุ อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวกแก่บุคคลผู้เข้ากักกันในศูนย์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของบุคคลผู้เข้ากักกันในศูฯย์ มีวัสดุอุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก เพียงพอ
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังบุคคล ผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยง (2) เพื่อจัดให้มีวัสดุ อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวกแก่บุคคลผู้เข้ากักกันในศูนย์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 (2) กิจกรรมบริหารระบบศูนย์สังเกตการณ์เริ่มป่วย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการศูนย์สังเกตการณ์การเริ่มป่วยตำบลอัยเยอร์เวง (Local Quarantine) ปี 2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวโซเฟีย หะยีมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด