กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้


“ โครงการประชาร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปี 2564 ”

ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณดี สุขมาก

ชื่อโครงการ โครงการประชาร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1497-02-01 เลขที่ข้อตกลง 3/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 สิงหาคม 2564 ถึง 20 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประชาร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปี 2564 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประชาร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประชาร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1497-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 สิงหาคม 2564 - 20 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,070.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยและประเทศในแถบเอเชียมาช้านาน เนื่องจากโรคนี้มียุงลายเป็นพาหนะนำโรค ซึ่งสามารถพบได้ทั่วไป โดยเฉพาะบริเวณที่มีแหล่งนำ้ขัง มีแนวโน้มการระบาดสูงในช่วงฤดูฝน และมีความรุนแรงของโรคเพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี ปัจจุบันพบผู่้ป่วยโรคไข้เลือดออกได้ ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ทำให้เกิดผลเสียต่อทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ เนื่องจากรัฐฯจะต้องเข้ามาบริหารจัดการ ทั้งในด้านการควบคุมป้องกันโรค และการรักษาพยาบาลเมื่อมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้น ซึ่งในแต่ละปี ประเทศชาติต้องสูญเสียงบประมาณไปกับการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกเป็นจำนวนมาก จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม -31 ธันวาคม 2563 ประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดดออก จำนวน 71,210 ราย อัตราป่วย 107.40 ต่อแสนประชาการ มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 52 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.07 จังหวัดตรัง ผู้ป่วยจำนวน 513 ราย อัตราป่วย 79.76 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต 2 ราย ตำบลนาโยงใต้พบผู้ป่วยจำนวน 14 ราย อัตราป่วย 300.00 ต่อแสนประชากร สำหรับปี 2564 (1 มกราคม - 30 มิถุนายน 2564) ประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกแล้วจำนวน 4,878 ราย อัตราป่วย 7.37 ต่อแสนประชากร มีผู่เสียชีวิต 4 ราย จังหวัดตรังมีรายงานผู้ป่วยจำนวน 16 ราย อัตราป่วย 2.49 ต่อแสนประชากร สำหรับพื้นที่ตำบลนาโยงใต้ ข้อมูลทางระบาดวิทยา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 30 มิถุนายน 2564 ยังไม่รายงานการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ แต่มีแนวโน้มการเกิดโรคหลังจากนี้เนื่องจากเข้าสู่ฤดูฝน มีแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายจากแหล่งต่างๆ การดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ให้ประสบผลสำเร็จ และเกิดประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ในการกำจัดยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค และร่วมมือกันในการควบคุมป้องกันโรคที่ยั่งยื่น โดยประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (ชมรม อสม.) ตำบลนาโยงใต้ตระหนัก และเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการประชาร่วมใจต้ายภัยไข้เลือดออก ประจำปี 2564 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อควบคุมไม่ให้มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก รายที่ 2 ภายใน 28 วัน หลังพบผู้ป่วยรายเเรกในหมู่บ้าน
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในตำบลนาโยงใต้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมภาคีเครือข่าย 87 คน จำนวน 2 ครั้้ง
  2. ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก
  3. ประชาสัมพันธ์ในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,026
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทุกหมู่บ้านสามารถควบคุม ไม่ให้มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก รายที่ 2 ภายใน 28 วัน หลังพบผู้ป่วยรายเเรกในหมู่บ้านนั้นๆ
  2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
  3. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในตำบลนาโยงใต้ ลดลงมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อควบคุมไม่ให้มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก รายที่ 2 ภายใน 28 วัน หลังพบผู้ป่วยรายเเรกในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดที่ 1 หมู่บ้านควบคุมไม่ให้มีผู้ป่วยรายที่ 2 ภายใน 28 วัน หลังพบผู้ป่วยรายเเรก ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดที่ 1 ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกร้อยละ 100 ตัวชี้วัดที่ 2 ดัชนีชี้วัดความชุกของลูกน้ำยุงลาย (C.l) ในเเต่ละหมู่บ้าน ไม่เกิน 10.0
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในตำบลนาโยงใต้
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดที่ 1 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในตำบลนาโยงใต้ลดลงมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4026
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,026
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อควบคุมไม่ให้มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก รายที่ 2 ภายใน 28 วัน หลังพบผู้ป่วยรายเเรกในหมู่บ้าน (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในตำบลนาโยงใต้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมภาคีเครือข่าย 87 คน จำนวน 2 ครั้้ง (2) ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) ประชาสัมพันธ์ในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประชาร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออก ประจำปี 2564 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1497-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณดี สุขมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด