กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกัน(LocalQuaratine)ในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละแมะนา)รุ่นที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2564

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกัน(LocalQuaratine)ในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละแมะนา)รุ่นที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2564 ”
จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายศุภวัฒน์ เจ๊ะแต




ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกัน(LocalQuaratine)ในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละแมะนา)รุ่นที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L2986-05-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกัน(LocalQuaratine)ในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละแมะนา)รุ่นที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกัน(LocalQuaratine)ในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละแมะนา)รุ่นที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกัน(LocalQuaratine)ในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละแมะนา)รุ่นที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L2986-05-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019” ปัจจุบันองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)เป็นภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ เนื่องจากเชื้อไวรัสดังกล่าวได้มีการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลก ตลอดจนประเทศไทยมีการแพร่ระบาดมาอย่างต่อเนื่อง มีผู้ป่วยยืนยันสะสมทั้งหมด 189,268 ราย (ศูนย์ข้อมูล COVID-19 กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 20 มิถุนายน 2564) โดยเฉพาะการระบาดระลอกใหม่ มีอัตราการเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว กระทรวงสาธารณสุขได้มีประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ซึ่งพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562ในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ และกระทรวงมหาดไทยได้พิจารณาตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพื่อช่วยเหลือประชาชนตามอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2560 ข้อ 13 กำหนดว่า เมื่อเกิดโรคติดต่อ โรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาดหรือมีเหตุสงสัยว่าได้เกิดโรคดังกล่าว ในเขตพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใด ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนให้มีการป้องกันและควบคุมการแพร่ และการระงับการระบาดของโรคนั้น หรือสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับผู้ที่มีภาวะเสี่ยง รวมทั้งประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ การช่วยเหลือหน่วยงานของรัฐและเอกชนให้เกิดการปฏิบัติตามนโยบายและแผนการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ และตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพื่อช่วยเหลือประชาชนตามอำนาจหน้าที่ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2560 หมวด 5 การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ (ข้อ14) และ (ข้อ15) ประกอบกับประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2563 ข้อ 10/1 เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดการระบาดของโรคติดต่อ และหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุดที่ มท 0808.2/ว 1552 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2563 เรื่อง แนวทางในการควบคุม เพื่อสังเกตอาการของผู้เดินทางกลับจากต่างประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อหรือพื้นที่ระบาดต่อเนื่อง กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยมีวัตถุประสงค์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการ หรือร่วมดำเนินการจัดสถานที่ควบคุมเพื่อสังเกตการเริ่มป่วย (Quarantine) ของกรณีผู้เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยง และหนังสืออำเภอทุ่งยางแดงที่ ปน 1018/1145 ลงวันที่ 17 พฤษภาคม 2564 เรื่อง การจัดเตรียมสถานที่กักกัน (Local Quarantine) ประจำตำบล ให้มีความพร้อมและสามารถรองรับผู้เข้ากักกันที่เป็นคนในพื้นที่ได้ทันทีเมื่อเกิดสถานการณ์ และผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานีมีคำสั่งให้จัดเตรียมสถานที่กักกันเพิ่มเติม เพื่อให้พร้อมรับสถานการณ์ตลอดเวลา จากข้อมูลสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ ในจังหวัดปัตตานี มีผู้ป่วยยืนยันสะสม 1,446 ราย กระจายไปยังอำเภอต่างๆ รวมถึงในตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดงมีผู้ป่วย -2- ยืนยันสะสม 3 ราย (ศูนย์กักตัวหอประชุมอำเภอทุ่งยางแดง) ส่งผลให้ตำบลตะโละแมะนา มีความเสี่ยงสูงต่อการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ดังนั้น กองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละแมะนาจึงได้จัดทำโครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกัน (Local Quarantine) ในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขึ้น รุ่นที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 พร้อมปรับปรุงสถานที่ให้มีความเหมาะสมตามหลักเกณฑ์และมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข รวมถึงการจัดเตรียมหาอาหารสำหรับผู้กักกันไว้ให้พร้อม เพื่อเร่งดำเนินการป้องกัน ควบคุมการแพร่กระจายโรคการสร้างสุขนิสัยส่วนบุคคล การให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และการคัดกรองภาวะเสี่ยง แก่ประชาชนในพื้นที่ เพื่อช่วยลดผลกระทบในด้านเศรษฐกิจและสังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดซื้ออาหารสำหรับผู้กักตัว วันละ 3 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเวลา 14 วัน ต่อ 1 ราย
  2. จัดซื้ออาหารสำหรับผู้กักตัว วันละ 3 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเวลา 14 วัน ต่อ 1 ราย
  3. จัดซื้ออาหารสำหรับผู้กักตัว วันละ 3 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเวลา 14 วัน ต่อ 1 ราย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถจัดหาอาหารให้กับผู้ที่อยู่ในศูนย์กักตัว(LocalQuaratine)ในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละแมะนา)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้ออาหารสำหรับผู้กักตัว  วันละ  3  มื้อๆละ  50  บาท  เป็นเวลา  14  วัน  ต่อ  1  ราย (2) จัดซื้ออาหารสำหรับผู้กักตัว  วันละ  3  มื้อๆละ  50  บาท  เป็นเวลา  14  วัน  ต่อ  1  ราย (3) จัดซื้ออาหารสำหรับผู้กักตัว  วันละ  3  มื้อๆละ  50  บาท  เป็นเวลา  14  วัน  ต่อ  1  ราย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดตั้งศูนย์สถานที่กักกัน(LocalQuaratine)ในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(องค์การบริหารส่วนตำบลตะโละแมะนา)รุ่นที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L2986-05-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายศุภวัฒน์ เจ๊ะแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด