กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายตามกลุ่มอายุ ๓๐ ถึง ๖๐ ปี ในพื้นที่ หมู่ที่ ๖, ๘ และหมู่ที่๑๓ ตำบลนาปะขอ ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ และตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมร้อยละ ๙๐
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งมีอายุ ๓๐- ๖๐ ปี ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการร้อยละ ๖๐ (๑๕๐ คน) และรับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ร้อยละ ๙๐ (๒๗๙ คน)
0.00

 

2 เพื่อให้ อสม. กลุ่มสตรี แกนนำชุมชน มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม สามารถถ่ายทอดความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : อสม.และแกนนำชุมชนมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก สามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้กลุ่มเป้าหมาย และสามารถนำกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ ๙๐
0.00

 

3 เพื่อค้นหากลุ่มป่วยโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านมระยะเริ่มแรก ระยะก่อนเป็นมะเร็งโดยมีการส่งต่อเพื่อวินิจฉัยโรค และรักษาที่เหมาะสม ทันเวลา
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ ๓๐- ๖๐ ปีที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและพบภาวะผิดปกติทุกชนิด ได้รับการรักษาโดยแพทย์ ร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายตามกลุ่มอายุ ๓๐ ถึง ๖๐ ปี ในพื้นที่ หมู่ที่ ๖, ๘ และหมู่ที่๑๓  ตำบลนาปะขอ ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก  ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ และตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมร้อยละ ๙๐ (2) เพื่อให้ อสม. กลุ่มสตรี แกนนำชุมชน มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม สามารถถ่ายทอดความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบได้ถูกต้อง (3) เพื่อค้นหากลุ่มป่วยโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านมระยะเริ่มแรก ระยะก่อนเป็นมะเร็งโดยมีการส่งต่อเพื่อวินิจฉัยโรค และรักษาที่เหมาะสม ทันเวลา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม จำนวน ๓ รุ่น/จำนวน ๑๕๐ คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh