กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน


“ โครงการแกนนำอสม. ดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2560 ”

ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายเจะอาเรน บินหมัด

ชื่อโครงการ โครงการแกนนำอสม. ดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5179-2-9 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแกนนำอสม. ดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแกนนำอสม. ดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้แกนนำอสม.ได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวาน (2) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าด้วยตนเอง (3) 3. เพื่อลดอัตราการเกิดแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ วางแผน ซื้อวัสดุอุปกรณ์ (2) อบรมให้ความรู้ อสม. (3) อบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย และติดตาม ประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ระยะแรกผู้ป่วยไม่เห็นความสำคัญของการตรวจเท้า (2) การลงทะเบียนมีความยุ่งยากทั้งการลงข้อมูลเบื้องต้น และแบบประเมินการตรวจเท้า (3) การสื่อสารไม่ทั่วถึงทำให้ผู้ป่วยเบาหวานมาตรวจเท้าไม่ครบทุกคนครั้งแรกที่นัด

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่หายขาด สามารถทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆมากมายทั้งชนิดเฉียบพลันและชนิดเรื้อรัง แผลที่เท้าเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้ป่วยเบาหวาน ทำให้เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลบ่อยครั้งเป็นแผลเรื้อรัง ซึ่งอาจนำไปสู่การถูกตัดขาและเสียชีวิตได้ ในอดีตการดูแลแผลที่เท้าผู้ป่วยเบาหวานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตลิ่งชัน ซึ่งหากพบผู้ป่วยที่มีแผลเบาหวานที่เท้าจะส่งต่อพบแพทย์โรงพยาบาลจะนะ หากมีแผลเนื้อเน่าตายมากแพทย์ก็จะตัดตกแต่งเนื้อที่เน่าตายจากแผล และไปรักษาทำแผลต่อที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลใกล้บ้าน ทางเจ้าหน้าที่ รพ.สต.จะติดตามแผลของผู้ป่วยต่อเนื่องเป็นระยะๆ การตรวจประเมินเท้าทำได้ไม่ครอบคลุม เนื่องจากบุคลากรขาดองค์ความรู้ ให้ความสำคัญน้อย และไม่มีอุปกรณ์ตรวจเท้าโดยเฉพาะ Monofilamant จากข้อมูลการสำรวจผู้ป่วยเบาหวานตำบลตลิ่งชัน ปี2560 พบว่ามีผู้ป่วยทั้งหมด 250 คน ได้รับการตรวจเท้าเบาหวาน 172 คน ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการรักษาที่ รพ.สต. 72 คน ได้รับการตรวจเท้าเบาหวาน 27 คน และมีแผลเรื้อรังที่เท้า 7 คนด้วยความตระหนักถึงปัญหา ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตลิ่งชันได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงหาแนวทางปรับความคิด แนวทางปฏิบัติให้ผู้ป่วย ญาติ ผู้ดูแล และชุมชน จัดทำโครงการแกนนำอสม.ดูแลสุขภาพเท้าผู่ป่วยเบาหวาน ปี 2560 เพื่อให้ทุกคนเกิดความตระหนัก ร่วมกันดำเนินกิจกรรมต่างๆเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังจากโรคเบาหวาน แบบองค์รวม โดยชุมชนมีส่วนร่วม เพื่อความยั่งยืนต่อไปในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้แกนนำอสม.ได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวาน
  2. 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าด้วยตนเอง
  3. 3. เพื่อลดอัตราการเกิดแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์ วางแผน ซื้อวัสดุอุปกรณ์
  2. อบรมให้ความรู้ อสม.
  3. อบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย และติดตาม ประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 250
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำอสม.ได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวาน
  2. แกนนำอสม.สามารถคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลและสามารถส่งต่อผู้ป่วยมายัง รพ.สต.ได้
  3. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าด้วยตนเอง
  4. ลดอัตราการเกิดแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
  5. พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน ตำบลตลิ่งชัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชาสัมพันธ์ วางแผน ซื้อวัสดุอุปกรณ์

วันที่ 1 มิถุนายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดประชุม อสม.และเจ้าหน้าที่แต่ละหมู่รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยเบาหวาน
  • เขียนโครงการเสนอขออนุมัติ
  • ประชาสัมพันธ์โครงการ กระจายเสียงตามหอกระจายข่าว -  จัดทำทะเบียนและสมุดบันทึกข้อมูลผู้ป่วยเบาหวาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชมรม อสม.และเจ้าหน้าที่วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย ได้ข้อมูลการดูแลสุขภาพเท้าเบาหวานระดับความรุนแรง 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงปานกลาง กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มที่มีแผล จัดทำทะเบียนและสมุดบันทึกสุขภาพ เพื่อบันทึกข้อมูลผู้ป่วยเบาหวาน

 

110 0

2. อบรมให้ความรู้ อสม.

วันที่ 19 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • อบรมแกนนำ อสม.ดูแลสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 110 คน อบรมและฝึกตรวจสุขภาพเท้า
  • ประเมินระดับความรู้ การคัดกรองและการดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำ อสม.สามารถนำความรู้ เรื่องเบาหวานเบื้องต้นและการดูแลเท้าด้วยตนเอง 5 ขั้นตอนได้ สามารถประเมินความรู้สึกที่เท้าด้วย Monofilament และฝึกปฏิบัติวิธีการนวดบริหารเท้าสำหรับผู้ป่วย เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนเลือด

 

110 0

3. อบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย และติดตาม ประเมินผล

วันที่ 20 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • แกนนำ อสม.และเจ้าหน้าที่ให้ความรู้ ตรวจสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มเป้าหมาย 250 คน โดยแบ่งเป็น 2 รุ่น
    • แกนนำ อสม.และเจ้าหน้าที่ตรวจประเมินความรู้สึกที่เท้าด้วย Monofilament และสอนนวดบริเวณเท้าให้ผู้ป่วยเบาหวาน เพื้อกระตุ้นการไหลเวียนเลือด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แกนนำ อสม.สามารถคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผล แกนนำ อสม.มีความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มขึ้น
  • ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจประเมินเท้าเบื้องต้นทุกคน กลุ่มเป้าหมายที่เข้าอบรม มีความรู้เรื่องดูแลเท้าเบื้องต้น ผู้ป่วยเบาหวานทราบปัจจัยเสี่ยงภาวะแทรกซ้อนที่ีอาจจะเกิดขึ้นในอนาตคของตนเองและครอบครัว

 

250 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. แกนนำอสม. มีความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มขึ้น ร้อยละ 85
  2. แกนนำอสม. สามารคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลและสามารถส่งต่อผู้ป่วยมา รพ.สต. ร้อยละ 80
  3. จำนวนผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจประเมินเท้าเบื้องต้น ร้อยละ 100
  4. จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าอบรม มีความรู้เรื่องการการดูแลเท้าเบื้องต้น ก่อนและหลังการอบรมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
  5. กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานไม่พบอัตราการเกิดแผลใหม่และการตัดนิ้ว/เท้า/ขา ร้อยละ 100

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้แกนนำอสม.ได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1. แกนนำอสม.ได้รับความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวาน มากกว่าร้อยละ 90 2. แกนนำอสม.สามารถคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลและสามารถส่งต่อผู้ป่วยมายัง รพ.สต. ร้อยละ 90
95.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าของตนเอง ร้อยละ 90 3. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการประเมินเท้า ร้อยละ 100
100.00

 

3 3. เพื่อลดอัตราการเกิดแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1.อัตราการเกิดแผลใหม่และการตัดนิ้ว/เท้า/ขา ลดลง ร้อยละ 100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 250
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้แกนนำอสม.ได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวาน (2) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าด้วยตนเอง (3) 3. เพื่อลดอัตราการเกิดแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ วางแผน ซื้อวัสดุอุปกรณ์ (2) อบรมให้ความรู้ อสม. (3) อบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย และติดตาม ประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ระยะแรกผู้ป่วยไม่เห็นความสำคัญของการตรวจเท้า (2) การลงทะเบียนมีความยุ่งยากทั้งการลงข้อมูลเบื้องต้น และแบบประเมินการตรวจเท้า (3) การสื่อสารไม่ทั่วถึงทำให้ผู้ป่วยเบาหวานมาตรวจเท้าไม่ครบทุกคนครั้งแรกที่นัด

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแกนนำอสม. ดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2560 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5179-2-9

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเจะอาเรน บินหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด