กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอาสาสมัครสาธารณสุข ร่วมใจขจัดโรคโควิด-19 หมู่ที่ 8
รหัสโครงการ 64-L8422-02-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 8
วันที่อนุมัติ 8 กันยายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 29 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 13,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสีตีมือแย อีแมดอสะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ของ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ปัตตานี ยะลา นราธิวาสและสงขลา ที่ร้ายแรงไม่แพ้กรุงเทพฯและปริมณฑล กระทั่งรัฐบาลต้องประกาศมาตรการพิเศษเพื่อควบคุมการแพร่ระบาด ทำให้หน่วยงานที่รับผิดชอบพื้นที่เริ่มขยับทำโครงการเพื่อป้องกันโรคโควิด-19 ซึ่งตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส และหน่วยงานต่างๆในพื้นที่จึงจัดหาวัคซีน เพื่อนำมาฉีดคนในพื้นที่ตำบลจวบ มาตรการสำคัญ คือ การขจัดภัยโรคโควิด-19 เป็นโรคระบาดร้ายแรง และต้องเร่งจัดหาวัคซีนโควิด-19 ให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ ผู้ติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ที่มีความเสี่ยงสูงในพื้นที่ตำบลจวบ ดังนั้นกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่8 เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการอาสาสมัครสาธารณสุข ร่วมใจขจัดโรคโควิด-19 เพื่อส่งเสริมการป้องกันโรคโควิด-19ในพื้นที่ตำบลจวบ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก 2. เพื่อให้ประชาชนได้รับการป้องกันได้ครอบคลุม 3. เพื่อให้อาสาสมัครในเครือข่ายได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของครอบครัว และชุมชน
  1. ร้อยละของ ปชช.ในตำบลสามารถเข้าถึงบริการฉีดวัคซีน
  2. ประชาชนในพื้นที่ได้รับการรักษาป้องกันได้ทั่วถึง
  3. อาสาสมัครสามารถติดตาม และได้มีการเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงอย่างทั่วถึง
1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 - 30 ก.ย. 64 การจัดบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก 0 9,900.00 9,900.00
1 - 30 ก.ย. 64 ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลจวบ 0 3,600.00 3,600.00
รวม 0 13,500.00 2 13,500.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. มีการบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19
  2. ประชาชนได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรค
  3. เกิดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ก.ย. 2564 00:00 น.