กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการอสม.รวมใจ ร่วมลดขยะมูลฝอย ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ตำบลเทพา(นายหมัดอุเส็นสามารถ ประธานอสม.)

ชื่อโครงการ โครงการอสม.รวมใจ ร่วมลดขยะมูลฝอย

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-8287-2-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 สิงหาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอสม.รวมใจ ร่วมลดขยะมูลฝอย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอสม.รวมใจ ร่วมลดขยะมูลฝอย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอสม.รวมใจ ร่วมลดขยะมูลฝอย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-8287-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 สิงหาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาขยะมูลฝอยมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึ้น สาเหตุจากการเพิ่มปริมาณขยะทุกปี ตามอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการอุปโภคบริโภคของประชาชน ในขณะเดียวกันปริมาณขยะมูลฝอยที่ได้รับการจัดการที่ถูกต้องเพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำ แม้ว่าอปท.จะมีการจัดเก็บ เคลื่อนย้าย ทำลาย แต่ก็ยังไม่เพียงพอกับปริมาณขยะมูลฝอยที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ในปี 2555 พบปริมาณขยะชุมชนประมาณ 24.73 ล้านตัน ในจำนวนนี้สามารถกำจัดได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ประมาณ 4.83 ล้านตัน และถูกนำกลับไปใช้ประโยชน์ประมาณ 5.28 ล้านตัน มูลฝอยส่วนที่เหลือกว่า 13.62 ล้านตัน ยังคงถูกกำจัดทิ้งอย่างไม่ถูกหลักวิชาการด้วยวิธีการเทกองกลางแจ้ง และการเผาในที่โล่ง (กรมควบคุมมลพิษ,2556:3-2) ส่งผลกระทบที่ตามมาทั้งความสูญเสียด้านสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดมลพิษทางน้ำ ดินเสื่อมสภาพ ความเสียหายจากเหตุรำคาญส่งกลิ่นเหม็นรบกวน รวมถึงเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์พาหะนำโรค และเป็นแหล่งการแพร่ของเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ระบบผิวหนัง และอื่นๆ จะเห็นว่าขยะเป็นต้นเหตุของการบั่นทอนอายุของประชาชนให้สั้นลง รวมทั้งความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ และสิ้นเปลืองงบประมาณของรัฐที่ใช้แก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลเทพา จึงได้จัดทำโครงการอสม.รวมใจ ร่วมลดขยะมูลฝอย เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอย รวมทั้งเพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด และการเพิ่มประสิทธิภาพการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ ตลอดจนเพื่อลดปัญหาสุขภาพของประชาชนที่มีสาเหตุมาจากขยะมูลฝอย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะการใช้ประโยชน์จากขยะและการเพิ่มประสิทธิภาพการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ ลดปริมาณขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด ลดปัญหาสุขภาพของประชาชนที่มีสาเหตุจากขยะมูลฝอย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
    กลุ่มวัยทำงาน 510
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ การใช้ประโยชน์จากขยะและการเพิ่มประสิทธิภาพการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์
    2. ลดปริมาณขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด และการเพิ่มประสิทธิภาพการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์
    3. ลดปัญหาสุขภาพของประชาชนที่มีสาเหตุจากขยะมูลฝอย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ประชาชนมีความรู้  ร้อยละ 90
    2. ผู้เข้าร่วมมหรกรรมสุขภาพมีความพอใจร้อยละ 100 งบประมาณ  100,000 บาท กิจกรรมให้ความรูั
      1. ค่าอาหารกลางวัน 3 pcu x 50 บาท x 120 คน = 18,000  บาท
      2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 3 pcu x 25 บาท x 2 มื้อ x 120 คน =  18,000 บาท
      3. ค่าวิทยากร 3 pcu x 6 ชม. x 500 บาท = 9,000 บาท กิจกรรมการประกวดสิ่งประดิษฐ์
      4. ค่ารางวัลที่ 1 = 2,000 บาท
      5. ค่ารางวัลที่ 2 = 1,000 บาท
      6. ค่ารางวัลที่ 3 = 500 บาท กิจกรรมการประกวดขบวนพาเหรดแฟนซีรีไซเคิล
      7. ค่ารางวัลที่ 1 = 2,000 บาท
      8. ค่ารางวัลที่ 2 = 1,000 บาท
      9. ค่ารางวัลที่ 3 = 500 บาท การจัดเวทีเสวนาเรื่องคัดแยกขยะ
      10. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 270 คน x 50 บาท = 13,500 บาท
      11. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 270 คน x 25 บาท x 2 มื้อ = 6,750 บาท
      12. ค่าวิทยากร 3 ชม. x 500 บาท = 1,500 บาท
      13. ค่าไวนิล 600 x 300 cm จำนวน 1 ป้าย = 2,700 บาท
      14. ค่าเช่าเต๊นท์พร้อมเวที  = 21,000 บาท
      15. ค่าวัสดุ  = 2,550 บาท
         

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะการใช้ประโยชน์จากขยะและการเพิ่มประสิทธิภาพการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ ลดปริมาณขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด ลดปัญหาสุขภาพของประชาชนที่มีสาเหตุจากขยะมูลฝอย
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีความรู้ร้อยละ 80 2. ผู้เข้าร่วมมหรกรรมสุขภาพมีความพอใจร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 630
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
    กลุ่มวัยทำงาน 510
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะการใช้ประโยชน์จากขยะและการเพิ่มประสิทธิภาพการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ ลดปริมาณขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด ลดปัญหาสุขภาพของประชาชนที่มีสาเหตุจากขยะมูลฝอย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอสม.รวมใจ ร่วมลดขยะมูลฝอย จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-8287-2-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ตำบลเทพา(นายหมัดอุเส็นสามารถ ประธานอสม.) )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด