กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ”

ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซาโลมาซาอสม.หมู่ที่ 4ตำบลระแว้ง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-3033-02-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 สิงหาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-3033-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 สิงหาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 95,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุหรือ คนชราตามคำจำกัดความขององค์กรอนามัยโลกหมายถึงคนที่มีอายุ60ปีขึ้นไปทั้งเพศหญิงและเพศชายปัจจุบันประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกมีอัตราการเพิ่มจำนวนของผู้สูงอายุมากขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปี เหตุที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และการพัฒนางานด้านสาธารณสุขทำให้สุขภาพอนามัยของประชาชนดีขึ้นและมีอายุยืนยาวทำให้ผู้สูงอายุในประเทศไทยมีแนวโน้มมากขึ้นองค์กรอนามัยโลกได้นิยามไว้ว่า"สุขภาพ หมายถึงสุขภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย จิตใจ สังคม และปัญญามิใช่เพียงการปราศจากโรคหรือความพิการเท่านั้น"(ตามนิยาม"สุขภาพ"ขององค์กรอนามัยโลกและ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550)"หรือสุขภาวะที่สมบูรณ์ทุก ๆทางเชื่อมโยงกันสะท้อนถึงความเป็นองค์รวมอย่างแท้จริงของสุขภาพที่เกื้อหนุนและยั่งยืนหมายถึงคนไทยมีสุขภาวะดีครบทั้งสี่ด้านได้แก่ กายจิตสังคมและปัญญาอันได้แก่
1.สุขภาวะทางกายหมายถึงการมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงมีเศรษฐกิจพอเพียงมีสิ่งแวดล้อมดีไม่มีอุบัติภัย เป็นต้น 2.สุขภาวะทางจิตหมายถึงจิตใจที่เป็นสุขผ่อนคลายไม่เครียดคล่องแคล่วมีความเมตตากรุณามีสติมีสมาธิเป็นต้น 3.สุขภาวะทางสังคมหมายถึงการอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัวในชุมชนในที่ทำงานในสังคมในโลกซึ่งรวมถึงการมีบริการทางสังคมที่ดีและมีสันติภาพเป็นต้น 4.สุขภาวะทางปัญญา(จิตวิญญาณ)หมายถึงความสุขอันประเสริฐที่เกิดจากมีจิตใจสูงเข้าถึงความจริงทั้งหมดลดละความเห็นแก่ตัวมุ่งเข้าถึงสิ่งสูงสุดซึ่งหมายถึงพระนิพพานหรือพระผู้เป็นเจ้าหรือความดีสูงสุดสุดแล้วแต่ความเชื่อมที่แตกต่างกันของแต่ละคน สุขภาวะหมายถึงการดำรงชีพของบุคคลอย่างมีสุขทั้งกายและ จิตอาจกล่าวได้ว่ามิใช่เพียงไม่มีโรคภัยไข้เจ็บแต่รวมถึงการมีชีวิตที่มีร่างกายแข็งแรงจิตแข็งแรงมีความสุขอยู่ในสังคมโลกในปัจจุบันซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วบางอย่างที่เกิดขึ้นก่อใ้ห้เกิดภาวะคุกคามต่อสุขภาวะคนไทยที่เกิดเป็นปัญหาด้านสุขภาพมลภาวะที่เกิดขึ้นการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับอาหารวิถีชีวิตค่านิยมและวัฒนธรรมที่เปลี่ยนไปล้วนแล้วแต่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมาทั้งสิ้นก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บเช่นเกิดโรคเอดส์เกิดโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจขาดเลือดเกิดอุบัติภัยสูงขึ้นเป็นต้นมีโรคหลายโรคที่อาจป้องกันหรือสามารถลดอัตราเสี่ยงลงได้ซึ่งต้องการความร่วมมือร่วมใจจากหลาย ๆ ฝ่ายช่วยการสร้างเสริมสุขาภาพให้กับสังคม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่ออบรมให้ความรู้การสร้างสุขภาวะทั้ง 4ด้านให้แก่ผู้สูงอายุผู้ดูแลผู้สูงอายุ
  2. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพระหว่างกัน
  3. จัดกิจกรรม เพื่อความผ่อนคลาย และเป็นการทดสอบสุขภาพของผู้สูงอายุเช่นการเป่าลูกโป่งการร้อยด้ายเข้าเข็ม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 365
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้สูงอายุมีความเข้าใจในการดูและสุขภาพได้อย่างถููกวิธี 2.ผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวันได้ 3. ผู้สูงอายุมีความรู้สามารถปฏิบัติตนให้ผ่อนคลายและมีความสุข 4.ผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปดูแลผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่ออบรมให้ความรู้การสร้างสุขภาวะทั้ง 4ด้านให้แก่ผู้สูงอายุผู้ดูแลผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความเข้าใจในเรื่องสุขภาพมากขึ้น

     

    2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพระหว่างกัน
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวันได้

     

    3 จัดกิจกรรม เพื่อความผ่อนคลาย และเป็นการทดสอบสุขภาพของผู้สูงอายุเช่นการเป่าลูกโป่งการร้อยด้ายเข้าเข็ม
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุสามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างมีความสุข และผ่อนคลาย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 365
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 365
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้การสร้างสุขภาวะทั้ง 4ด้านให้แก่ผู้สูงอายุผู้ดูแลผู้สูงอายุ (2) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพระหว่างกัน (3) จัดกิจกรรม เพื่อความผ่อนคลาย และเป็นการทดสอบสุขภาพของผู้สูงอายุเช่นการเป่าลูกโป่งการร้อยด้ายเข้าเข็ม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-3033-02-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวซาโลมาซาอสม.หมู่ที่ 4ตำบลระแว้ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด