กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์


“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายแบบรำไทเก็กในผู้สูงอายุ ”

ตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ชมรมผู้อาวุโส (ผู้สูงอายุ) เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายแบบรำไทเก็กในผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5249-2565-2-006 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 25 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายแบบรำไทเก็กในผู้สูงอายุ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายแบบรำไทเก็กในผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายแบบรำไทเก็กในผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L5249-2565-2-006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 25 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยจำนวนผู้สูงอายุและสัดส่วนผู้สูงอายุในปัจจุบัน (ผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป) ของประเทศไทยเพิ่มขึ้นในอัตราที่รวดเร็ว ทำให้โครงสร้างประชากรของประเทศไทย เข้าสู่ระยะที่เรียกว่า ภาวะประชากรผู้สูงอายุ (population ageint) ซึ่งมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม รัฐบาลจึงให้ความสนใจเตรียมการป้องกันและไขปัญหาในผู้สูงอายุ ด้วยผู้สูงอายุเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าสร้างคุณประโยชน์มากมายให้กับประเทศ จึงสมควรที่จะได้รบการดูแล ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข ไม่เป็นปัญหาต่อครอบครัว สังคม มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2525 อนุมัติให้วันที่ 13 เมษายน ของทุกปี เป็นวันผู้สูงอายุแห่งชาติเปิดพื้นที่เวทีให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับคนทุกวัยในชุมชน และสังคม

    กิจกรรมการออกกำลังกายและนันทนาการเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตต่อทุกเพศ ทุกวัย และจะช่วยให้ประชากรในชาติให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทำให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง พัฒนาอารมณ์ให้มีความสุข คลายความเคลียด ชมรมผู้อาวุโส เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายแบบไทเก็กในผู้สูงอายุ ขึ้น

      ไทเก็ก เป็นการออกกำลังกายอีกชนิดหนึ่งที่ตกทอดมาจากจีน เดิมทีเป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวที่ประกอบด้วยการเคลื่อนไหวร่างกายภายนอก ประสานกับการฝึกพลังลมปราณภายนอก และการฝึกพลังลมปราณภายใน ในวิชาการต่อสู้ของจีน ถือหลักที่ว่า นักรบหรือชาวยุทธ อาจหาญ และกำชัยชนะในการต่อสู่ได้ ต้องประกอบด้วยความแข็งแรงของร่างกายทั้งพลังภายนอกและพลังภายในเป็นพื้นฐาน ศิลปะการต่อสู้ที่เป็นแบบฉบับ มีจิตใจที่สงบเยือกเย็น มั่นคง และที่สำคัญเหนือสิ่งอื่นใดต้องมีใจซื่อสัตย์ มีคุณธรรม ผลของการฝึกไทเก็กทำให้ผู้ฝึกได้ความแข็งแรง ได้ฝึกจิตใจให้สงบ และนำเอาหลักปรัชญาการต่อสู้ในกระบวนท่าของไทเก็กไปประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิตประจำวันได้

  ไทเก็ก อาศัยการเคลื่อนไหวร่างกายที่เนิบช้าด้วยท่ามือ 8 ท่า ท่าร่าง 5 ท่า ประกอบเป็นกระบวนท่าดูภายนอกเหมือนอ่อนนุ่ม แต่กลับแฝงไว้ซึ่งพลังร่างกาย ภายนอกดูเคลื่อนไหวแต่จิตใจภายในกลับสู่กล้ามมือและข้อต่อ เปลี่ยนท่วงท่าไปเหมือนต้องเกร็งแต่ภายในเส้นสายกลับผ่อนคลาย อากัปกิริยาดูเยือกเย็น คือ หลักหยิน-หยาง จะเกิดการรวมเป็นหนึ่งเดียวระหว่างกายกับจิต เกิดเป็นสมาธิเกิดเป็นความสงบ ด้านร่างกาย การออกกำลังกายไทเก็กอย่างสม่ำเสมอ ทำให้กล้ามเนื้อแข็งแรง ข้อต่อเคลื่อนไหวไม่ติดขัด กระดูกแข็งแรง ระบบย่อยอาหารและทางเดินหายใจดี ทำให้หัวใจแข็งแรงการหมุนเวียนเลือดสะดวก จิตใจแจ่มใส และมีสมาธิมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 20
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรง

    2. ผู้สูงอายุได้แบ่งปันประสบการณ์และการอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมั่นคงและมีความสุข

    3. ผู้สูงอายุได้รับการยอมรับจากสังคม และครอบครัว


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 20
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายแบบรำไทเก็กในผู้สูงอายุ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ L5249-2565-2-006

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรมผู้อาวุโส (ผู้สูงอายุ) เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด