กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับการฝึกสมาธิบำบัด SKT ในการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจสำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับการฝึกสมาธิบำบัด SKT ในการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจสำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ ”

ตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับการฝึกสมาธิบำบัด SKT ในการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจสำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์

ที่อยู่ ตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5249-2565-1-014 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2564 ถึง 25 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับการฝึกสมาธิบำบัด SKT ในการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจสำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับการฝึกสมาธิบำบัด SKT ในการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจสำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับการฝึกสมาธิบำบัด SKT ในการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจสำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L5249-2565-1-014 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2564 - 25 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,030.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคหลอดเลือดหัวใจ (coronary artery disease) เป็นโรคที่เกิดจากหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจตีบหรือตัน ซึ่งกรณีที่การตีบตันมีมากกว่าร้อยละ 70 จะส่งผลให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หากได้รับ  การประเมินและรักษาล่าช้าจะเป็นสาเหตุการเสียชีวิตได้หรือหากมีชีวิตรอดอาจทาให้อยู่ในภาวะพึ่งพา จำเป็นต้องอาศัยผู้ดูแล (สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย, 2557) ซึ่งในประเทศไทยพบว่า ภาวะหัวใจขาดเลือดเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สาคัญ ซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับ 4 ของประชากรในประเทศ รองจากมะเร็ง หลอดเลือดสมองและปอดติดเชื้อ โดยอัตราการตายด้วยภาวะหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้นจากปี 2558 ถึง 2561 เป็น 29.9 32.3 32 และ 39.4 รายต่อประชากรแสนคนตามลาดับ (กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข, 2560) ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่ของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ พบว่า มากกว่า ร้อยละ 60 มาจากกลุ่มผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงและไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ และเบาหวาน (World Health Organization, Country Office for Thailand, 2019) และพบในเพศชาย  สูงกว่าเพศหญิง 2 – 3 เท่า นอกจากนี้ สาเหตุการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ อื่น ๆ ได้แก่ ภาวะไขมันในเลือดสูง เบาหวาน โรคไต การสูบบุหรี่ ความอ้วน และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม เป็นต้น (Laothavorn et al., 2010; Tankumpuan et al., 2019) อย่างไรก็ตามโรคหลอดเลือดหัวใจ สามารถป้องกันได้ โดยการลดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง ระดับน้าตาลในเลือด ปรับพฤติกรรมการบริโภค ควบคุมน้าหนัก การงดสูบบุหรี่ ออกกาลังกาย ลดความเครียด และพักผ่อนอย่างเพียงพอ (สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย, 2557)

          จากการทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์ พบว่าวิธีการลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจที่มีประสิทธิภาพ ได้แก่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เช่น การควบคุมน้ำหนัก การลดบริโภคเกลือหรือไขมัน การออกกำลังกาย หรือการลดปัจจัยเสี่ยง เช่น ควบคุมภาวะความดันโลหิต ระดับไขมันและน้ำตาลในเลือดและเลิกสูบบุหรี่ (ภรปภา และทัศนา, 2561; Benjamin et al., 2019) นอกจากนี้ การฝึกสมาธิบำบัด SKT เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่นิยมใช้ในปัจจุบัน และพบว่ามีประสิทธิภาพในการควบคุมระดับความดันโลหิตสูง (พงษศักดิ์, 2561) ลดระดับไขมัน และควบคุมระดับน้าตาลในเลือด (ณัฏฐ์ธัญศา, 2563; อรอุมา, สุธินา, และสุขุมาภรณ์, 2560) ดังนั้น งานศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับการฝึกสมาธิบำบัด SKT ในการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจสำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ ปี 2565 โดยการอบรม ให้ความรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับการฝึกสมาธิบาบัด SKT จะสามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจในประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อัตราการเกิดโรคเรื้อรัง ได้แก่ หลอดเลือดหัวใจลดลง ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และโรคเบาหวาน ลดลง

    2. อัตราการการเข้ารักษาในโรงพยาบาลด้วยสาเหตุจากโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดลดลง

    3. มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับการฝึกสมาธิบำบัด SKT ในการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจสำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ L5249-2565-1-014

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด