กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน


“ โครงการการจัดตั้งจุดตรวจ จุดสกัด เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ณ บ้านระไมล์ต้นมะขาม ปี 2564 ”

หมู่ที่ 7 ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายมุสตอพา เลาะดีเยาะ

ชื่อโครงการ โครงการการจัดตั้งจุดตรวจ จุดสกัด เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ณ บ้านระไมล์ต้นมะขาม ปี 2564

ที่อยู่ หมู่ที่ 7 ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 8/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 สิงหาคม 2564 ถึง 20 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดตั้งจุดตรวจ จุดสกัด เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ณ บ้านระไมล์ต้นมะขาม ปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 7 ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดตั้งจุดตรวจ จุดสกัด เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ณ บ้านระไมล์ต้นมะขาม ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดตั้งจุดตรวจ จุดสกัด เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ณ บ้านระไมล์ต้นมะขาม ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 7 ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 สิงหาคม 2564 - 20 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เชื้ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือ COVID-19 เป็นไวรัสข้ามสายพันธ์ุที่สันนิษฐานว่าเกิดจากค้างคาวมาติดเชื้อในคน โดยเริ่มระบาดในมณฑลอู่ฮั่นของประเทศจีนในช่วงปลายปี ค.ศ. 2019 จนกระทั่งมีการระบาดไปยังประเทศอื่นๆ ระบาดของเชื้อ COVID-19 มีความรุนแรงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง พบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อสะสมจำนวน 1,020,432 ราย รักษาหายแล้ว 812,210 ราย เสียชีวิต 9,226 ราย (ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูล COVID-19 ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2564) สำหรับ จังหวัดสงขลาพบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อ จำนวน 17,858 ราย รักษาหายแล้ว จำนวน 14,784 ราย เสียชีวิต 100 ราย (ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูล COVID-19)สำหรับตำบลเปียน พบผู้ติดเชื้อจำนวน 173 ราย หากจำแนกรายหมู่พบว่า ม.1 11ราย ม.2 41 ราย ม.6 17 ราย และม.7 55 ราย (ข้อมูลจากศูนย์ข EOC สะบ้าย้อย) จะเห็นได้ว่าพื้นที่ ม.7 บ้านระไมล์ต้นมะขามได้มีสัดส่วนของผู้ติดเชื้อคิดเป็นร้อยละ 31.8 ของผู้ติดเชื้อทั้งหมด จากการแพร่ระบาดของโรคติตต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกใหม่ส่งผลให้มีประชาชนติดเชื้อและเริ่มกระจายในวงกว้างมากขึ้น การป้องกันการติดเชื้อสามารถทำได้โดยหลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการระบาดของเชื้อ COVID-19 พื้นที่เสี่ยง หรือการอยู่บ้านเพื่อการหยุดเชื้อ การระบาดของโรคดังกล่าวจึงเป็นสถานการณ์ที่กระทบต่อความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยของประชาชน เพื่อให้สามารถแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินให้ยุติได้อย่างรวดเร็วและป้องกันมิให้เกิดเหตุร้ายมากขึ้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 และมาตรา 11 แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 นายกรัฐมนตรีจึงออกข้อกำหนดและข้อปฏิบัติแก่ส่วนราชการภายใต้หลักเกณฑ์เงื่อนไขและเงื่อไขเวลา และตามพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 67(3) บัญญัติให้ องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ ดังนั้นทางผู้นำชุมชนได้ตระหนักถึงสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ จึงได้จัดจุดตรวจ/จัดสกัดป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดโดยการค้นหาเชิงรุกในพื้นที่บ้านระไมล์ต้นมะขาม หมู่ที่ 7 ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ซึ่งนำทีมโดยผู้ใหญ่บ้านร่วมกับชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.)โดยมีการบูรณาการกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) ฯลฯ ได้เข้าเวรปฏิบัติหน้าที่ประจำจุดคัดกรอง (ผลัดละ 14 คน) วันละ 2 ผลัด เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่เกิดขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ตำบลเปียน
  2. เพื้อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การตั้งจัดตรวจ จัดสกัดเพื่อดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคเชื้อไวรัสโคโรนา COVID-19 เพื่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่ได้มากขึ้น
  2. ประชาชนในพื้นที่ตำบลเปียนได้รับการตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
  3. เกิดความร่วมมือสามัคคดีกันของชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ตำบลเปียน
ตัวชี้วัด :
100.00

 

2 เพื้อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด :
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ตำบลเปียน (2) เพื้อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การตั้งจัดตรวจ จัดสกัดเพื่อดำเนินงานเฝ้าระวัง และควบคุมโรคเชื้อไวรัสโคโรนา COVID-19 เพื่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการจัดตั้งจุดตรวจ จุดสกัด เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ณ บ้านระไมล์ต้นมะขาม ปี 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมุสตอพา เลาะดีเยาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด