กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่


“ โครงการเสริมสร้างการบริหารจัดการขยะชุมชนอย่างเป็นระบบ ”

ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสุนทร แก้วประสิทธิ

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างการบริหารจัดการขยะชุมชนอย่างเป็นระบบ

ที่อยู่ ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5193-02-004 เลขที่ข้อตกลง 015/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 กันยายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างการบริหารจัดการขยะชุมชนอย่างเป็นระบบ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างการบริหารจัดการขยะชุมชนอย่างเป็นระบบ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างการบริหารจัดการขยะชุมชนอย่างเป็นระบบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5193-02-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 กันยายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 159,738.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย ที่มีอย่างต่อเนื่องในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมานั้นช่วยยกระดับมาตรฐานการดำรงชีวิตของประชาชนชาวไทยโดยทั่วไปให้สูงขึ้น แต่ในขณะเดียวกันก็เกิดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมที่ตามมาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติซึ่งเป็นเรื่องที่น่าวิตกกังวลเป็นอย่างยิ่ง รัฐบาลไทยได้ตระหนักถึงภัยคุกคามที่เกิดจากปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม และได้กำหนดเป็นนโยบายสำคัญ รวมทั้งได้ดำเนินการในด้านต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างองค์กร สถาบันและประชาชนในระดับต่างๆของสังคมทั้งภาครัฐและเอกชน ปัจจุบันคนไทยกว่า 60 ล้านคน สามารถสร้างขยะมูลฝอยทั่วประเทศได้มากถึง 14.4 ล้านตัน หรือ 39,240 ตันต่อวัน สถานการณ์ด้านการกำจัดขยะมูลฝอยของประเทศไทย (กรมควบคุมมลพิษ) ประกอบด้วยขยะประเภทบรรจุภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ที่สามารถนำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) และแปรรูปกลับมาใช้ซ้ำ (Recycle) แต่ความสามารถในการจัดเก็บขยะกลับมีไม่ถึง 70% ของขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น จึงทำให้เกิดขยะมูลฝอยตกค้างตามสถานที่ต่างๆ หรือมีการนำไปกำจัดโดยวิธีกองบนพื้นซึ่งไม่ถูกสุขาภิบาลก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ขยะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์โรคต่างๆ มากมายและเป็นแหล่งการแพร่ของเชื้อโรค ที่ก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจ โรคในระบบทางเดินอาหาร โรคในระบบผิวหนัง การเกิดอุบัติเหตุ จะเห็นว่าจะเป็นตัวบั่นทอนอายุของประชาชนให้สั้นลงได้ ทุกระบบของการเกิดโรคมีสาเหตุจากขยะเกือบทั้งสิ้น ขยะบางชนิดมีประโยชน์บ้างถ้ามีวิธีการนำกลับมาใช้จะได้คุ้มค่าอย่างแท้จริง การกำจัดขยะ ไม่ว่าโดยวิธีใด ย่อมมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมไม่มากก็น้อยทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยเฉพาะในบ้านเราไม่ได้มีการแยกขยะอันตรายที่มีสารเคมีและโลหะหนักออกไปกำจัดให้ถูกต้อง ก็ยิ่งน่าเป็นห่วงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน การหาวิธีกำจัดขยะในรูปแบบต่างๆ เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ เหมือนการระดมคนมากวาดถนนหรือใช้รถดูดฝุ่น เพราะ "กวาดเท่าไหร่ก็ไม่หมด ถ้าไม่งดทิ้งขยะ" แต่สำหรับการกำจัดขยะให้ได้ผล ต้องแก้ที่ต้นเหตุ คือ "คน"ซึ่งเป็นผู้ก่อให้เกิดขยะ ฉะนั้นการส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน ให้มีการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางในระดับชุมชนการให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ จะทำให้ประชาชนตระหนักและเข้าใจสภาพปัญหาหรือผลกระทบที่เกิดขึ้น มีความสนใจและใส่ใจในการปฏิบัติตาม จำเป็นต้องมีการปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอในรูปแบบที่แตกต่างกันไป โดยจะต้องพิจารณาเนื้อหาและสื่อที่จะใช้ให้เหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย ตลอดจนช่วงเวลาที่เหมาะสมซึ่งการส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะนอกจากสามารถลดปริมาณขยะจากแหล่งกำเนิดลงได้แล้ว ยังเป็นการสร้างรายได้จากการคัดแยกขยะเพื่อนำไปขายได้อีกด้วย ปัญหาของการก่อสร้างหลุมฝังกลบขยะ คือ การหาที่ดินสำหรับการฝังกลบที่หาได้ยากในปัจจุบัน ซึ่งการจัดการฝังกลบก็ไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เกิดสภาพน่ารังเกียจทั้งภายในพื้นที่ฝังกลบเอง และสภาพโดยรอบก็มีขยะปลิวกระจาย และส่งผลต่อมลพิษต่างๆที่เกิดจากการจัดการฝังกลบขยะที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ กลิ่น น้ำชะขยะที่ปนเปื้อนลงสู่น้ำใต้ดิน รวมถึงก๊าซชีวภาพซึ่งเป็นการก๊าซเรือนกระจก ปัญหาของการกำจัดขยะโดยใช้เตาเผา คือ การไม่ยอมรับของประชาชนโดยกังวลว่าการเผาขยะจะก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมที่เป็นอันตราย โดยเฉพาะสารไดออกซิน ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งที่มีความรุนแรง กองช่าง องค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการกำจัดขยะ มีการจัดเก็บ แยก ทำลาย เผา ฝัง ทำปุ๋ยหมัก จึงจัดทำโครงการ "ร่วมด้วยช่วยกันแยก ช่วยกันลด หมดปัญหาขยะ" เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ
  5. เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ
  6. เพื่อบริหารงบประมาณในการจัดการขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมผู้เกี่ยวข้อง
  2. ชี้แจงสร้างความรู้ ความเข้าใจในการลด คัดแยกขยะในวันประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน
  3. จัดหาตะแกรงเหล็กแบบแยกประเภท
  4. จัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์การลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความตระหนักในการคัดแยกขยะก่อนทิ้งและนำขยะมาใช้ประโยชน์

  2. ประชาชนมีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย

  3. ปริมาณขยะมีจำนวนลดลง

  4. ประชาชนมีรายได้จากการขายขยะ

  5. ประชาชน มีคุณภาพชีวิตที่ดี เข้มแข็งและน่าอยู่อย่างยั่งยืน

  6. ทำให้พื้นที่มีการจัดการขยะที่มีระเบียบและเป็นระบบ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)
70.00 50.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
1000.00 1500.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
100.00 200.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
7.00 7.00

 

5 เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
8.00 8.00

 

6 เพื่อบริหารงบประมาณในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนเงินที่ อปท.ใช้เพื่อการกำจัดขยะในชุมชน(บาท/ปี)
120000.00 60000.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ (4) เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ (5) เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ (6) เพื่อบริหารงบประมาณในการจัดการขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมผู้เกี่ยวข้อง (2) ชี้แจงสร้างความรู้ ความเข้าใจในการลด คัดแยกขยะในวันประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน (3) จัดหาตะแกรงเหล็กแบบแยกประเภท (4) จัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์การลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างการบริหารจัดการขยะชุมชนอย่างเป็นระบบ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5193-02-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุนทร แก้วประสิทธิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด