กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู


“ โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ”

ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสิทธิศักดิ์ วิชยวิกรานต์

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ที่อยู่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กันยายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กันยายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งปากมดลูกถือเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของผู้หญิงทั่วโลกจากรายงานของ International Agency for Research on cancer (2018) ของผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 569,847 ราย และมีผู้เสียชีวิต จำนวน 311,365 ราย   ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สถานการณ์โรคมะเร็งปากมดลูกถือเป็นปัญหาที่สำคัญของหลายประเทศเช่นเดียวกัน จากสถิติในแต่ละปีจะพบผู้ป่วยใหม่ราว 62,406 ราย และผู้ป่วยครึ่งหนึ่งจำนวนนี้จะเสียชีวิตลงโดยประเทศอินโดนีเซียมีอุบัติเหตุการเกิดโรคสูงสุด 23.4 รายต่อประชากร 100,000 ราย   สำหรับประเทศไทยโรคมะเร็งปากมดลูกพบมากเป็นอันดับ 3 รองจากมะเร็งเต้านม และมะเร็งตับ โดยส่วนใหญ่พบในผู้หญิงราว 35-60 ปี ในปี 2557 มีอุบัติการณ์การเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก 5,513 ราย หรือคิดเป็น 11.7 รายต่อประชากร 100,000 ราย (Cancer in Thailand 2013-2015) และจากรายงานสำนักนโยบาลและยุทธศาสตร์ระบุในปี พ.ศ. 2560 มีจำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็งปากมดลูกประมาณ 2,251 ราย หรือคิดเป็น 6.8 ราย ต่อประชากร 100,000 ราย (ดร.ศุลีพร แสงกระจ่าง)   สาเหตุของการเกิดมะเร็งปากมดลูก ข้อมูลทางการแพทย์ระบุว่าการติดเชื้อ HPV (Human papilloma virus, HPV) เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดมะเร็งปากมดลูก เชื้อ HPV มีอยู่มากกว่า 200 สายพันธ์ ซึ่งมีประมาณ 15 สายพันธ์ ที่ทำให้เกิดโรคโดยเฉพาะเชื้อไวรัสสายพันธ์ HPV 16 และ 18 ผู้หญิงทุกคนมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HPV ได้ง่ายโดยเฉพาะจากเพศสัมพันธ์ จากการเปลี่ยนคู่นอน การคลอดบุตรหลายคน การสูบบุหรี่ หากพบว่าป่วยเป็นโรคมะเร็งในระยะสุดท้าย จะทำให้เกิดการสูญเสียเสียชวิตและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก ถ้ามีการตรวจพบเร็วในระยะเริ่มต้นเนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติ กับการดำเนินโรคแบบค่อยเป็นค่อยไปและรักษาหายขาดได้โดยรักษาตามระบบ   ในส่วนของโรคมะเร็งเต้าใน ยังไม่อาจค้นหาสาเหตุสำคัญได้ โอกาสที่สตรีจะป้องกันตนเองจากมะเร็งเต้านม จึงไม่มีเทคโนโลยีใดที่เหมาะสมนอกจากการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ หากพบก้อนและสงสัยตั้งแต่ระยะเริ่มต้นสามารถที่จะรักษาให้หายขาดได้   จากข้อมูลตั้งแต่ปี 2555 - 2564 หญิงวัยเจริญพันธ์ในพื้นที่ตำบลโกตาบารู ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รวมทั้งสิ้น 9 ราย ซึ่งมีทั้งเสียชีวิตและรักษาหาย และจากผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโกตาบารู ปี 2563-2564 กลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์อายุ 30-60 ปี จำนวน 962 ราย ผ่านการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 169 คน คิดเป็นร้อยละ 17.57 ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดตัวชี้วัดเป้าหมายการดำเนินงานกลุ่มเป้าหมายรายใหม่ มากกว่าร้อยละ 40 (จำนวนสะสมปี 2563-2564) และในปี 2563-2567 กำหนดการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมเพ่ิมขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ต่อปี และการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองของหญิงวัยเจริญพันธ์อายุ 30-70 ปี จำนวน 1,146 ราย ผ่านการตรวจคัดกรองเต้านมด้วยตนเอง จำนวน 860 ราย คิดเป็นร้อยละ 75.31 ซึ่งยังต่ำกว่าเกณฑ์เป้าหมาย ที่กำหนดไว้ให้ได้มากกว่าร้อยละ 80   จากรายงานการเจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ผลการดำเนินงานยังต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโกตาบารูได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2564 ขึ้น เพื่อดำเนินการเชิงรุกในทุกรูปแบบเป็นกลวิธีที่จะทำให้เกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการและได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และตรวจเต้านมด้วยตนเองให้ครอบคลุมมากที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 40 ของสตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับความรู้และรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมายใหม่ในปี 2564
  2. ร้อยละ 90 ของสตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้องต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสิทธิศักดิ์ วิชยวิกรานต์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด